คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี ร่วมกับ เอไอเอส โดย นายอราคิน รักษ์จิตตาโภค หัวหน้าฝ่ายขับเคลื่อนนวัตกรรม เปิดโครงการ Sensor for All ปีที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกาศความร่วมมือที่จะขยายพื้นที่การติดตั้งเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่น PM สุพจน์ เตชวรสินสกุล.5 ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อนำข้อมูลมาช่วยบริหารจัดการปัญหาคุณภาพอากาศและฝุ่นละอองขนาดเล็กได้อย่างยั่งยืน อีกทั้งพัฒนาระบบวิเคราะห์และพยากรณ์สถานการณ์ฝุ่นล่วงหน้า ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมที่คิดค้นโดยคนไทย ทั้งนี้ เอไอเอส ได้ส่งมอบอุปกรณ์ NB-IoT DEVKIT เพื่อนำไปผลิตอุปกรณ์เซ็นเซอร์ตรวจวัดฝุ่น PM สุพจน์ เตชวรสินสกุล.5, PM อราคิน รักษ์จิตตาโภคจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อุณหภูมิ และความชื้น พร้อมทั้งคำนวณค่า AQI และระบบประมวลผลผ่านหน้าจอเซ็นเซอร์ ส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย AIS NB-IoT ที่สนับสนุนการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ประเภทเซนเซอร์ หรือ IoT ให้ทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งเอไอเอส เป็นรายแรกที่พัฒนาเครือข่าย NB-IoT ครอบคลุมทั่วไทย อันจะส่งผลให้โครงการฯสามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์ เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการและแก้ไขคุณภาพอากาศในระยะยาวได้อย่างยั่งยืน ตรงจุด ต่อไป
เกี่ยวกับ AIS
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ AIS ผู้นำด้าน Digital Life Service Provider อันดับ 1 ที่มีคลื่นความถี่ในการให้บริการมากที่สุดรวม 1450 MHz และมีจำนวนผู้ใช้งานมากที่สุดกว่า 40.9 ล้านเลขหมาย (ณ เดือนกันยายน 2563) พร้อมขับเคลื่อนประเทศไทยด้วยเทคโนโลยี 5G ที่ครบ 77 จังหวัดแล้วเป็นรายแรกผ่าน 3 สายธุรกิจ ได้แก่ โทรศัพท์เคลื่อนที่, อินเทอร์เน็ตบ้านความเร็วสูงภายใต้แบรนด์ AIS Fibre และบริการดิจิทัล 5 ด้าน ได้แก่ วิดีโอ คลาวด์ ดิจิทัลเพย์เมนท์ อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (IoT) และบริการร่วมกับพาร์ทเนอร์ ตลอดจนขยายสู่กลุ่มธุรกิจใหม่ อาทิ AIS eSports, AIS Insurance ทั้งหมดนี้ เพื่อสนับสนุนความแข็งแกร่งด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของประเทศ ขยายขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรม และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยไปพร้อมกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย "การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย" เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์ สังขพงศ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าวเปิดงาน จากนั้นผู้แทนจากทั้งสามหน่วยงาน ได้แก่ ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร
รู้เท่าทันก๊าซเรดอน ภายหลังเหตุแผ่นดินไหว อาจารย์วิศวฯ นิวเคลียร์ จุฬาฯ แนะตรวจปริมาณเรดอนที่อาจแทรกผ่านรอยแยกอาคารได้
—
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 8.2 แม...
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ค้นพบหลักฐานใหม่ในถ้ำกระบี่ บ่งชี้การกระจายตัวของ "ไฮยีนา" ทางภาคใต้ของไทยเมื่อสองแสนปีก่อน
—
รศ.ดร.กันตภณ สุระประสิทธิ์ อาจาร...
SNPS ต้อนรับนิสิตจุฬาฯ ถ่ายทอดองค์ความรู้ "นวัตกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน"
—
บริษัท สเปเชี่ยลตี้ เนเชอรัล โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) หรือ SNPS ให้การต้อ...
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และนักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ
—
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาว...
"ย่านสยามสงกรานต์สนุก" ฉลองสงกรานต์จัดเต็ม ทั้ง สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร์ และสยามดิสคัฟเวอรี่ ร่วมกับ ศูนย์การค้า เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์, และ สยามสแควร์
—
เทศกาลสงกรา...
สมาคมเคมีฯ สพฐ. สช. จุฬาฯ และ Dow ลงนามความร่วมมือ เตรียมขยายผล "เคมีย่อส่วน" สู่โรงเรียนสพฐ.และเอกชนทั่วประเทศ
—
สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ สำนักงาน...
นิทรรศการ "รัตนแห่งจุฬาฯ" 28 มีนาคม ถึง 3 เม.ย.นี้ ณ ศูนย์การค้าสามย่านมิตรทาวน์
—
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทยเบฟเวอเรจ และสามย่านมิตรทาวน์ ร...