ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย และ
สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ได้จัดโครงการรณรงค์ Thailand HPV Cervical Cancer Free #เอชพีวีไม่รู้ไม่ได้แล้ว เพื่อให้สตรีไทยได้เข้าใจ รู้จัก รู้สิทธิ์ หมั่นตรวจเช็ก และป้องกัน นำประเทศไทยปลอดโรคมะเร็งปากมดลูกในอนาคต
ด้วยเดือนมกราคมของทุกปีเป็นเดือนแห่งการรณรงค์
ต้านภัยมะเร็งปากมดลูกสากล ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งเพียงไม่กี่ชนิดที่สามารถป้องกันได้ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของสาเหตุการเกิดโรคให้กับประชาชนเพื่อลดอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งชนิดต่างๆ สืบสานการดำเนินงานตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ประธานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ที่ทรงมุ่งหวังช่วยเหลือประชาชนชาวไทยให้พ้นจากทุกข์ภัยของโรคมะเร็ง ตลอดจนยกระดับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย สร้างนวัตกรรม เพื่อยกระดับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ประกอบกับการผลักดันนโยบายระดับประเทศของกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยในปี พ.ศ.สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ นี้ ได้เพิ่มสิทธิ์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกพื้นฐาน จากการตรวจคัดกรองด้วยวิธีแปปสเมียร์ (Pap Smear) เป็นการตรวจมะเร็งปากมดลูกแบบหาเชื้อไวรัสเอชพีวีดีเอ็นเอ (HPV DNA) ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้ตระหนักรู้จักเชื้อไวรัสเอชพีวี รู้สิทธิ์การเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เพื่อดูแลและป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคมะเร็งปากมดลูก ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ โดยความร่วมมือกับ กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคมมะเร็งนรีเวชไทยจึงได้จัดโครงการรณรงค์ Thailand HPV Cervical Cancer Free #เอชพีวีไม่รู้ไม่ได้แล้ว ณ ลานอีเดน ชั้น ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนประเทศไทยให้ปลอดจากโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งภายในงานครั้งนี้ได้มีกิจกรรมเปิดเวทีเสวนาในหัวข้อ "ขับเคลื่อนประเทศไทยปลอดโรคมะเร็งปากมดลูก เพิ่มสิทธิหญิงไทยตรวจคัดกรองด้วย "เอชพีวี ดีเอ็นเอ" จากวิสัยทัศน์ มุมมอง และนโยบายระดับประเทศในการขจัดโรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย นำโดย ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจิรพร เหล่าธรรมทัศน์ คณบดีคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ และรองอธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์และการตลาด, คุณเรวดี รัศมิทัต ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, พลอากาศโท นายแพทย์การุณ เก่งสกุล ประธานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย, นายแพทย์จักรกริช โง้วศิริ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์, นาวาอากาศเอก นายแพทย์ภานนท์ เกษมศานติ์ นายกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย และผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐวุฒิ กันตถาวร คณะแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ หัวหน้าศูนย์สุขภาพสตรี โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ดำเนินรายการเสวนา โดย คุณดาว-อภิสรา เกิดชูชื่น พร้อมเปิดตัวภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ในแคมเปญรณรงค์ "เอชพีวีไม่รู้ไม่ได้แล้ว" ภายใต้แนวคิด "ชีวิตรักเปลี่ยนได้ด้วยความรู้เอชพีวี" และมีคุณนิโคลีน พิชาภา ลิมศนุกาญจน์ มิสไทยแลนด์เวิลด์ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต้านภัยมะเร็งปากมดลูก8 ร่วมเป็นทูตรณรงค์โครงการ
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจิรพร เหล่าธรรมทัศน์ คณบดีคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ และรองอธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์และการตลาด ได้กล่าวถึงการขับเคลื่อนยกระดับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านโรคมะเร็งในประเทศไทยว่า "ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เป็นสถาบันที่ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงมีพระประสงค์ให้ก่อตั้งขึ้นโดยมุ่งหวังที่เป็นสถาบันระดับโลกในด้านวิทยาศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย การศึกษา และการบริการทางสุขภาพ รวมถึงการพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทย รวมทั้งทรงมีพระดำริให้ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ดำเนินโครงการที่จะยกระดับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านโรคมะเร็งในประเทศไทย โดยร่วมมือกับสถาบันชั้นนำต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อยกระดับเทคโนโลยีความก้าวหน้าทั้งในประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการรักษาโรคมะเร็งซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบายการป้องกันโรคไม่ติดต่อของกระทรวงสาธารณสุข โดยมีโครงการที่กำลังดำเนินการอยู่ ณ ปัจจุบัน อาทิ "โครงการผลิตเภสัชภัณฑ์ในพระดำริ" ตั้งอยู่ ณ พระตำหนักพิมานมาศ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งจะเป็นโรงงานต้นแบบผลิตยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าที่จะเข้ามาเพิ่มขีดความสามารถการวิจัยและการพัฒนาเภสัชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งให้ต่อเนื่องสมบูรณ์ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ สนองแนวพระดำริที่จะต่อยอดนำงานวิจัยเข้าสู่กระบวนการผลิตที่สามารถนำมาใช้กับผู้ป่วยได้ เชื่อมโยงความรู้และประสานความร่วมมือด้านเทคโนโลยีการผลิตเภสัชภัณฑ์กับนานาชาติ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถผลิตเภสัชภัณฑ์ประสิทธิภาพสูง สำหรับรักษาโรคมะเร็งใช้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งโครงการดังกล่าวจะช่วยสร้างโอกาสให้ประชาชนที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงกลุ่มยารักษามะเร็งประสิทธิภาพสูง หรือกลุ่มยามะเร็งแบบมุ่งเป้าได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม "โครงการศูนย์บำบัดรักษาโปรตอน-คาร์บอนแห่งชาติ ศรีสวางควัฒน" อีกหนึ่งโครงการที่จะช่วยยกระดับคุณภาพ ประสิทธิภาพ และศักยภาพการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย ลดอัตราการเสียชีวิต และขยายโอกาสทางการรักษาแก่ประชาชนทุกกลุ่ม ซึ่งการรักษาโรคมะเร็งด้วยอนุภาคโปรตอนหรือคาร์บอน เป็นเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงเซลล์มะเร็งในตำแหน่งที่ซับซ้อน ลดระยะเวลา ลดผลข้างเคียง และเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งได้ นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังว่าโครงการนี้จะช่วยส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีขั้นสูงทางด้านการซ่อมบำรุงและด้านการผลิตเครื่องมือทางการแพทย์เพื่อผลิตบุคลากรในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญสู่อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรกลทางการแพทย์ให้กับประเทศไทย และกำลังริเริ่มดำเนิน "โครงการ Thailand Cancer Genome" เพราะโรคมะเร็งถือเป็นโรคทางพันธุกรรมโดยเซลล์มะเร็งพัฒนามาจากเซลล์ที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมซึ่งมีความหลากหลายมาก ทั้งในมะเร็งชนิดเดียวกัน หรือมะเร็งชนิดที่ต่างกัน รวมไปถึงในกลุ่มประชากรที่ต่างกัน โครงการนี้จะมุ่งเป้าไปที่การถอดรหัสข้อมูลทางพันธุกรรมของมะเร็งชนิดต่างๆ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเทียบกับองค์ความรู้ที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนานาชาติเพื่อหาและเก็บรวบรวมข้อมูลความแตกต่างทางพันธุกรรมของมะเร็งในประชากรไทย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะได้ประโยชน์ทางการแพทย์หลายอย่าง เช่น การรักษาโรคมะเร็งแบบแม่นยำ การค้นพบความผิดปกติทางพันธุกรรมในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งชาวไทยซึ่งจะนำไปสู่การใช้ประโยขน์ในการพัฒนาแนวทางการรักษาที่ดีขึ้น และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงทางความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรไทย"
สำหรับการขับเคลื่อนประเทศไทยให้ปลอดโรคมะเร็งปากมดลูก ทาง ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจิรพร เหล่าธรรมทัศน์ ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า " ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของสาเหตุการเกิดโรคให้กับประชาชนเพื่อลดอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งชนิดต่างๆ สืบสานการดำเนินงานตามพระปณิธานขององค์ประธานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ที่ทรงมุ่งหวังช่วยเหลือประชาชนชาวไทยให้พ้นจากทุกข์ภัยของโรคมะเร็ง โดยตั้งแต่แรกเริ่มเปิดโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เราได้จัดโครงการบำเพ็ญพระกุศลฯ ขึ้นทุกปีเพื่อให้บริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งชนิดต่างๆด้วยเทคโนโลยีทีทันสมัยให้กับประชาชนที่ โดยเรามีโครงการเฝ้าระวังและป้องกันมะเร็งปากมดลูกแนวใหม่ โดยบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบหาเชื้อไวรัสเอชพีวี ดีเอ็นเอ ตั้งแต่ปี พ.ศ.สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย554 เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการตรวจคัดกรองตลอดจนนำมาขยายผลต่อด้วยการศึกษาวิจัยสาเหตุ และอุบัติการณ์ของโรคในระดับชุมชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาด้านการรักษาและการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในโอกาสที่เดือนมกราคมเป็นเดือนแห่งการรณรงค์ต้านภัยมะเร็งปากมดลูกสากล ประกอบกับข่าวดีที่ประเทศไทยเราได้มีนโยบายที่จะยกระดับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกพื้นฐานให้กับสตรีไทยในปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ นี้ จึงได้บูรณาการความร่วมมือจัดโครงการรณรงค์นี้ขึ้นเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยให้ปลอดจากโรคมะเร็งปากมดลูก เพื่อร่วมประชาสัมพันธ์และให้ความรู้อันเป็นประโยชน์สู่ประชาชนชาวไทยในวงกว้าง โดยเฉพาะสตรีไทยที่จะสามารถรู้จัก รู้สิทธิ์ เพื่อดูแลป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างยั่งยืน
ทางด้าน คุณเรวดี รัศมิทัต ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวถึง สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกในไทยว่า "มะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากในอดีตเคยเป็นมะเร็งอันดับ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก ของผู้หญิงไทย แต่ปัจจุบันก็ลดลงมาเป็นอันดับ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย รองจากมะเร็งเต้านม แต่ก็ยังคงมีตัวเลขผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจำนนวนมากอยู่ โดยในแต่ละปีจะมีผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 8,สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คน ในจำนวนนี้มียอดการเสียชีวิตถึงร้อยละ 5สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกโดยรวมที่จะตกประมาณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์5สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นที่ชัดเจนแล้วว่าสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกเกือบทั้งหมดเกิดจากการติดเชื้อเอชพีวี โดยทั้งนี้ทางกระทรวงสาธารณสุขได้มีการรณรงค์การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและการตรวจคัดกรอง รวมถึงการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ ร่วมกับ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยในการป้องกัน ควบคุมมะเร็งปากมดลูก เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพประชาชนในทุกมิติ โดยมีการวางแผนการดำเนินงานร่วมกับทุกภาคส่วนในการควบคุมและป้องกันมะเร็งปากมดลูก ผลักดันและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการแพทย์ด้านมะเร็งนรีเวช รวมถึงสูตินรีแพทย์ในการดูแลผู้ป่วยที่มีผลการคัดกรองพบว่าผิดปกติ จัดทำโครงการวิจัยเทคโนโลยีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในระดับประชากรที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย รวมถึงการให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกแก่ประชาชน โดยเฉพาะการให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ซึ่งที่ผ่านมากระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรคก็ได้มีการให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสเอชพีวี ในเด็กนักเรียนหญิงชั้นป.5 ซึ่งจะช่วยลดอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกได้ ดังนั้น การเพิ่มสิทธิให้กับผู้หญิงไทยในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีเอชพีวี ดีเอ็นเอ จึงถือเป็นความสำเร็จอีกหนึ่งก้าวในการยกระดับการให้บริการสุขภาพให้แก่ประชาชนชาวไทย ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขก็จะยังคงประสานวความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้กับประชาชนให้ดียิ่งขึ้นในทุกมิติต่อไป"
ด้านพลอากาศโท นายแพทย์การุณ เก่งสกุล ประธานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ได้ชี้แจงถึงแนวทางการขจัดมะเร็งปากมดลูกในไทยว่า "เชื้อเอชพีวีเป็นไวรัสที่ติดต่อผ่านทางการสัมผัส หรือการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งมีอยู่ร้อยกว่าสายพันธุ์ แต่ชนิดที่เสี่ยงจะทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกบ่อยๆ มีประมาณ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก5 สายพันธุ์ โดยผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ต้านภัยมะเร็งปากมดลูกสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราย จะตรวจพบเชื้อ HPV เกือบทุกราย (ร้อยละ 99) ซึ่งแปลว่า ถ้ากำจัดเชื้อ HPV ได้ ก็เท่ากับว่ากำจัดมะเร็งปากมดลูกได้ ดังนั้น แนวทางการป้องกันมะเร็งปากมดลูกจึงทำได้โดย
ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ เช่น การมีคู่นอนคนเดียว จะลดโอกาสรับเชื้อ HPV ได้
สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย. การฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี โดยสายพันธุ์ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก6 และ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก8 เป็นสาเหตุประมาณร้อยละ 7สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของมะเร็งปากมดลูก ซึ่ง สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย สายพันธุ์นี้ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันที่ได้ผลเกือบ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูกสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ% แล้ว แต่ยังมีความเป็นไปได้ที่อาจจะติดไวรัสเอชพีวีสายพันธุ์อื่น ๆ อยู่ ดังนั้น แม้จะได้รับวัคซีนแล้ว ก็ยังมีความจำเป็นต้องตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างเป็นระบบ โดยในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย545 หรือเกือบ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีมาแล้ว ด้วยวิธี ตรวจ pap smear และ VIA หรือตรวจด้วยน้ำส้มสายชู ซึ่งทำให้ปัจจุบันอุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกเริ่มลดลงแล้ว แต่อย่างไรการตรวจด้วยวิธีดังกล่าว ยังมีความไวในการตรวจพบมะเร็งประมาณ ร้อยละ 5สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ-6สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การตรวจ HPV ที่จะเริ่มในปีนี้ มีความไวในการตรวจพบมะเร็งปากมดลูกถึง ร้อยละ 9สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ-95 จึงจะเป็นเครื่องมือที่จะทำให้เราเข้าใกล้จุดมุ่งหมายที่จะขจัดมะเร็งปากมดลูกให้สำเร็จ"
สำหรับการเพิ่มสิทธิสตรีพื้นฐานในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเอชพีวี ดีเอ็นเอ ที่จะเริ่มดำเนินการในปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ นี้ นายแพทย์จักรกริช โง้วศิริ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้อธิบายถึงการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มสิทธิการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเอชพีวี ดีเอ็นเอ ว่า "การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาผู้ป่วยในระยะแรกเริ่มและนำไปสู่การรักษาเป็นมาตรการสำคัญในการลดจำนวนหญิงไทยที่เจ็บป่วยด้วยโรคนี้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จึงได้บรรจุเป็นสิทธิประโยชน์กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง) โดยร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยบริการทุกระดับ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับชาติขึ้น สำหรับหญิงไทยอายุระหว่าง ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ-6สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี ทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย548 โดยสตรีในกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้วยวิธีแปปสเมียร์ ซึ่งเป็นวิธีที่แพร่หลายและใช้โดยทั่วไปในประเทศไทยมากว่า 7สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี หรือวิธี วีไอเอ(Visual Inspection with Acetic acid : VIA) ที่เป็นการตรวจโดยชโลมปากมดลูกด้วยน้ำส้มสายชู ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์-5 % มาอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถรับการตรวจคัดกรองได้ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก ครั้งในทุก 5 ปี ซึ่งในกรณีที่ผู้มีผลตรวจแปปสเมียร์ผิดปกติ จะได้รับการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมหรือส่งไปรักษาทุกราย แต่เนื่องจากปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการตรวจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิผลของบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและให้เป็นไปตามข้อแนะนำ (Guideline) การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกฉบับปรับปรุง เดือนกันยายน สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก ของ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ในการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงได้เห็นชอบให้ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA test) มาแทนการตรวจด้วยแปปสเมียร์หรือวีไอเอ ในปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เป็นต้นไป เนื่องจากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเอชพีวี ดีเอ็นเอ เป็นการตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อไวรัส เอชพีวีที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูก ซึ่งวิธีนี้มีความไวในการตรวจหาเซลล์ผิดปกติสูงมาก ประกอบกับผลการศึกษาการประเมิน ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) ระบุว่า เอชพีวี ดีเอ็นเอ เทสท์ เป็นวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ทำให้สามารถตรวจพบ ผู้ป่วยในระยะแรกเริ่มเพิ่มขึ้นและเข้าสู่การรักษาได้โดยเร็วก่อนลุกลาม ช่วยให้อุบัติการณ์และการเสียชีวิต จากมะเร็งปากมดลูกลดลงเมื่อเทียบกับวิธีคัดกรองในปัจจุบัน ทั้งยังมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งรูปแบบของบริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเอชพีวี ดีเอ็นเอจะเป็นวิธีคัดกรองมะเร็งปากมดลูกลำดับแรกในกลุ่มประชากรอายุ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ-6สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี กรณีที่ผลการตรวจไม่พบเชื้อจะเข้าสู่กระบวนการคัดกรองทุก 5 ปี และในกรณีที่ตรวจพบเชื้อจะทำการตรวจยืนยันซ้ำและเข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป"
"โดยคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีมติให้เริ่มดำเนินการได้ตั้งแต่ปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เป็นต้นไป ทั้งนี้ระยะเปลี่ยนผ่าน หน่วยบริการสามารถเลือกที่จะให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้ทั้ง ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ รูปแบบ คือ แปปสเมียร์, วีไอเอ หรือ เอชพีวี ดีเอ็นเอ เทสท์ เนื่องจากการตรวจด้วยวิธีเอชพีวี ดีเอ็นเอ เทสท์ มีประเด็นพิจารณา ทั้งในเรื่องความพร้อมของของบุคลากรที่จะดูแลจัดบริการ และการอ่านผลจากเครื่องเอชพีวี ดีเอ็นเอ ดังนั้น สปสช.จึงได้ประสานการดำเนินงานอย่างใกล้ชิดกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ในการพัฒนาและขยายศักยภาพของทุกหน่วยบริการเพื่อรองรับการตรวจเอชพีวี ดีเอ็นเอ และการจัดระบบบริการ รองรับการเข้าถึงบริการรักษาต่อเนื่องหลังจากผลการตรวจคัดกรองเป็นบวก ทั้งการตรวจปากมดลูกด้วยกล้อง (Colposcopy) เพื่อยืนยันและการรักษามะเร็งตามจำเป็น โดยหน่วยบริการที่มีความพร้อมในการเริ่มนำร่องในปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จะมีทั้งหมด สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย4 จังหวัด กระจายอยู่ทุกเขตทั่วประเทศ เช่น จังหวัดที่เป็นที่ตั้งของ โรงพยาบาลศูนย์ โดยคาดว่าจะสามารถเริ่มเปิดให้บริการได้ภายในมีนาคม สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เป็นต้นไป การดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาตินั้น สิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการรักษาและบริการ สาธารณสุข ที่ผ่านมาได้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วยและประชาชนผู้มีสิทธิได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน เช่นเดียวกับกรณีการเริ่มสิทธิประโยชน์เอชพีวี ดีเอ็นเอในปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ที่นับเป็นอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนาของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และจะมีการขยายผลให้ครอบคลุมทั่วประเทศได้ก่อนปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย565"
สำหรับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซึ่งได้ให้ความสำคัญกับการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเทคโนโลยีทีทันสมัยควบคู่กับการศึกษาวิจัยตั้งแต่เริ่มดำเนินการเปิดให้บริการโรงพยาบาลเมื่อปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย55สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ตามพระปณิธานขององค์ประธานผู้ก่อตั้งโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐวุฒิ กันตถาวร อาจารย์คณะแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ หัวหน้าศูนย์สุขภาพสตรี โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ กล่าวว่า "ทางโรงพยาบาลจุฬาภรณ์มีบริการครบวงจรเรื่องมะเร็งปากมดลูก ทั้งการให้คำแนะนำปรึกษา การฉีดวัคซีน HPV การตรวจคัดกรองหาเชื้อ HPV รวมถึงการผ่าตัด ฉายแสง เคมีบำบัด โดยในปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เราจัดโปรแกรมพิเศษทั้งการฉีดวัคซีน และการตรวจคัดกรอง HPV โดยหวังว่าให้คนไข้เข้าถึงสิ่งที่ดีที่สุดในราคาที่เหมาะสม โดยที่ผ่านมาทางโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ได้จัดทำโครงการบำเพ็ญพระกุศลฯ เพื่อให้ประชาชนไทยได้เข้าถึงเทคโนโลยีการคัดกรอง หรือรักษามะเร็งขั้นสูงแก่ผู้ป่วยในทุกๆปี โดยในปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย554 เราจัดโครงการบำเพ็ญพระกุศลฯ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแนวใหม่ ซึ่งในช่วงเวลานั้น การตรวจ HPV ยังถือว่าเป็นเรื่องที่ใหม่ในประเทศไทย มีผู้ร่วมโครงการจากทั่วประเทศ 4,487 ราย พบการติดเชื้อไวรัส HPV ความเสี่ยงสูง ร้อยละ 6.4 โดยพบสายพันธุ์ที่แตกต่างจากประเทศทางตะวันตก โดยเราพบว่า สายพันธุ์ที่พบบ่อย คือ 5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย, ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก6, 5ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก ซึ่งในทางตะวันตกจะพบสายพันธุ์ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก6 บ่อยที่สุด ต่อมาในปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย556 เราทำวิจัยในชุมชน ตำบลบางขะแยง จังหวัดปทุมธานี รอบพระตำหนักจักรีบงกชในลักษณะเดียวกัน ในประชาชน ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก,5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ราย พบการติดเชื้อไวรัส HPV ความเสี่ยงสูง ร้อยละ 5.6 สายพันธุ์ที่พบบ่อย คือ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก6, 5ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก, 5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย เราพบมะเร็งปากมดลูก 4 ราย และการตรวจติดตามด้วยการตรวจ HPV ที่ 5 ปี ไม่มีรายงานผู้ป่วยใหม่มะเร็งปากมดลูกในตำบลบางขะแยงอีกเลย จึงเป็นตัวอย่างที่บอกว่า การขจัดมะเร็งปากมดลูกนั้นเป็นไปได้จริง นอกจากนี้ เรายังทำวิจัยร่วมกับทางวชิรพยาบาล ในการตรวจ HPV ในคนกรุงเทพมหานคร 4,44สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ราย ในปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย557 และในชาวเขาที่จังหวัดน่าน 7ต้านภัยมะเร็งปากมดลูกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ราย ในปี พ.ศ. สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย559 ซึ่งได้ผลออกมาคล้ายๆกัน"
สำหรับการบูรณาการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีไทย ด้านนาวาอากาศเอก นายแพทย์ภานนท์ เกษมศานติ์ นายกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ได้กล่าวปิดท้ายว่า "สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยในฐานะศูนย์รวมของบุคลากรที่ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช และเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและการให้บริการแก่ประชาชนด้านโรคมะเร็งในสตรี ทั้งในส่วนของการให้ความรู้ด้านงานวิชาการกับบุคลากรทางการแพทย์ และในส่วนของการให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ซึ่งที่ผ่านมาเราได้มีการจัดรณรงค์ทุกปีร่วมกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานภาครัฐและเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคมะเร็ง รวมถึงหน่วยงานต่างๆ ในการบูรณาการองค์ความรู้ และสานต่อนโยบายระดับชาติเพื่อรณรงค์สร้างเสริมสุขภาพให้สตรีไทยได้ตระหนักรู้ถึงการป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสเอชพีวี เพื่อลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกให้กับสตรีไทย"
อนึ่ง ทางราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ได้จัดทำภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ในโครงการ Thailand HPV Cervical Cancer Free #เอชพีวีไม่รู้ไม่ได้แล้ว ภายใต้แนวคิด "ชีวิตรักเปลี่ยนได้ด้วยความรู้เอชพีวี" เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกผ่านมุมมองของคนที่คุณรักเพื่อสร้างความตระหนักรู้และจดจำให้กับสตรีไทยเพื่อให้รู้จักเชื้อไวรัสเอชพีวี ต้นเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูก โดยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งเพียงไม่กี่ชนิดที่สตรีไทยสามารถป้องกันได้ เพียงปรึกษาแพทย์เพื่อรับวัคซีนป้องกันไวรัส HPV และตรวจภายในเพื่อคัดกรองเชื้อไวรัส HPV DNA ร่วมลดอุบัติการณ์เพื่อขจัดมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย สำหรับสตรีที่สนใจเข้ารับการตรวจคัดกรองหรือรับวัคซีนป้องกัน ศูนย์สุขภาพสตรี โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ได้จัดโปรแกรมในอัตราพิเศษตลอดปี สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย56ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ อาทิ ตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV DNA) ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก4 สายพันธุ์ ราคา 99สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บาท, ตรวจภายในเพื่อคัดกรองมะเร็งปากมดลูกพร้อมตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อไวรัสเอชพีวี ราคา ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก,59สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บาท และวัคซีนป้องกันไวรัสเอชพีวีชนิด 4 สายพันธุ์ ราคาเข็มละ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย,สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บาท ผู้ที่สนใจสามารถติดต่อเข้ารับบริการได้ที่ ศูนย์สุขภาพสตรี ชั้น 9 อาคารศูนย์การแพทย์มะเร็งวิทยาจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สอบถามรายละเอียดหรือนัดหมายเข้ารับบริการได้ที่ โทร. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย576 6565 / สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย576 6589 หรือ www.facebook.com/chulabhornhospital