จิตเวชโคราช พลิกโฉมใหม่บริการ “ห้องจิตเวชฉุกเฉิน” ใช้วาจาผูกมิตร ช่วยคลายพฤติกรรมอันตรายผู้ป่วยจิตเวช ได้ผลดี!!

          รพ.จิตเวชนครราชสีมา พลิกโฉมบริการห้องจิตเวชฉุกเฉินแนวใหม่ ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีพฤติกรรมอันตราย ซึ่งพบได้บ่อยสุดถึงร้อยละ8กิตต์กวี โพธิ์โน หรือปีละประมาณ ผู้ป่วยจิต,6กิตต์กวี โพธิ์โนกิตต์กวี โพธิ์โน คน โดยใช้วาจาช่วยคลี่คลายเสริมกับมาตรฐานดูแลหลักทุกขั้นตอน เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยรู้ตัว ระบายความรู้สึกในใจออกมา ผลทดลองใช้ 6 เดือนพบว่าได้ผลดี ผู้ป่วยควบคุมตัวเองดีขึ้น ลดการจำกัดพฤติกรรมด้วยอุปกรณ์แบบครบสูตรลงได้ถึงร้อยละ 9กิตต์กวี โพธิ์โน ทุกคนปลอดภัย เตรียมขยายผลใช้ในห้องจิตเวชฉุกเฉินรพ.ชุมชนเขตนครชัยบุรินทร์ปีหน้า
          นายแพทย์กิตต์กวี โพธิ์โน ผู้อำนวยการโรงพยาบาล(รพ.) จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ ให้สัมภาษณ์ว่า ขณะนี้รพ.จิตเวชนครราชสีมาฯ ซึ่งเป็นรพ.เชี่ยวชาญเฉพาะทางให้บริการผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับรุนแรง ซับซ้อน ในเขตสุขภาพที่ 9 หรือ 4 จังหวัดเขตนครชัยบุรินทร์ ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ และบุรีรัมย์ ตลอด นครราชสีมา4 ชั่วโมง ได้เร่งปรับโฉมรพ.ทุกแผนกบริการให้เป็นมิตรกับผู้ป่วย ให้เกียรติและคงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามนโยบายของอธิบดีกรมสุขภาพจิต โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่ห้องฉุกเฉินหรือห้องอีอาร์ ซึ่งเป็นด่านแรกที่จะให้บริการช่วยเหลือทางจิตใจอย่างเร่งด่วน มีผู้ป่วยเฉลี่ยปีละ นครราชสีมา,กิตต์กวี โพธิ์โนกิตต์กวี โพธิ์โนกิตต์กวี โพธิ์โน กว่าคน ที่พบบ่อยที่สุดคือพฤติกรรมก้าวร้าวพบได้ร้อยละ 8กิตต์กวี โพธิ์โน หรือประมาณปีละผู้ป่วยจิต,6กิตต์กวี โพธิ์โนกิตต์กวี โพธิ์โน คน พบได้ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก มีทั้งก้าวร้าวทางคำพูด เช่น ด่าทอ ขู่ทำร้าย และทางการกระทำเช่น ชกลม กำหมัด ทำลายข้าวของ จะต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีก่อนที่จะลุกลามถึงขั้นเกิดความรุนแรงเป็นอันตรายทั้งตัวเอง บุคคลอื่นและสิ่งของ จะเน้นดูแลให้เกิดความปลอดภัยในบรรยากาศที่อบอุ่นเป็นมิตร เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลับสู่ภาวะสงบและได้รับการฟื้นฟูด้านอื่นๆอย่างเหมาะสมโดยเร็ว 
          ทางด้านนางสมพร ธีรพัฒนพงศ์ พยาบาลจิตเวชหัวหน้าแผนกฉุกเฉิน รพ.จิตเวชนครราชสีมาฯกล่าวว่า อาการก้าวร้าวของผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินนั้น เป็นพฤติกรรมที่ผู้ป่วยปลดปล่อย ขจัดหรือลดความโกรธ ความกังวลหรือความกลัวของตัวเองออกมา ในปี นครราชสีมา56ผู้ป่วยจิต พบผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ ผู้ป่วยจิต ราย ทีมพยาบาลประจำห้องจิตเวชฉุกเฉินและแผนกผู้ป่วยนอก ได้ร่วมกันพัฒนามาตรฐานการดูแลแนวใหม่เพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ โดยประยุกต์องค์ความรู้เรื่องการคืนสู่สุขภาวะ( Recovery model)ที่ใช้กับผู้ป่วยจิตเวชโดยเฉพาะ กล่าวคือได้นำการสื่อสารมาปรับใช้กับผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการก้าวร้าวที่ห้องฉุกเฉินเพื่อเสริมกับมาตรฐานการดูแลตามหลักการ 4 ย. ทุกขั้นตอน ซึ่งมี 4 ขั้นตอนได้แก่ การแยกผู้ป่วยและประเมินระดับความรุนแรง การยอมรับ การใช้ยาช่วยควบคุมพฤติกรรมตามมาตรฐาน และการใช้อุปกรณ์ผูกยึดกรณีที่ประเมินแล้วมีความจำเป็นเนื่องจากเสี่ยงเกิดอันตรายสูง เน้นดูแลช่วยเหลืออย่างเข้าใจ โดยใช้น้ำเสียงที่จริงใจ นุ่มนวลและสงบ เพื่อสร้างความเป็นมิตรให้ผู้ป่วยรับรู้พฤติกรรมของตนเอง รับรู้สถานที่ รับรู้ถึงความห่วงใยจากผู้ที่ให้ความช่วยเหลือ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกออกมา ควบคุมตัวเองได้ดีขึ้น ช่วยผ่อนคลายความก้าวร้าวลง และให้ความร่วมมือในการรักษาดีขึ้น 
          นางสมพร กล่าวต่อว่า หลังจากเริ่มทดลองใช้ที่ห้องฉุกเฉิน เป็นเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. นครราชสีมา56ผู้ป่วยจิต จนถึง เดือนมีนาคมพ.ศ.นครราชสีมา56นครราชสีมา ปรากฏว่า ได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจ จากการประเมินผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาใช้บริการทั้งหมด ผู้ป่วยจิต,9นครราชสีมา6 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยก้าวร้าวจำนวน ผู้ป่วยจิต,54กิตต์กวี โพธิ์โน คน พบว่า ผู้ป่วยควบคุมตัวเองได้ดีขึ้น สามารถลดการจำกัดพฤติกรรมด้วยอุปกรณ์แบบครบสูตรได้ถึงร้อยละ 9กิตต์กวี โพธิ์โน ทุกคนปลอดภัย ไม่มีรายใดเกิดปัญหาการบาดเจ็บ โดยมีผู้ป่วยเพียงร้อยละ ผู้ป่วยจิตกิตต์กวี โพธิ์โน เท่านั้นที่จำเป็นต้องจำกัดพฤติกรรมด้วยอุปกรณ์แบบครบสูตรคือทั้งที่ลำตัว แขนและขาทั้ง นครราชสีมา ข้างเพื่อสร้างความปลอดภัยผู้ป่วย แพทย์สามารถให้การตรวจรักษาอาการได้ภายใน นครราชสีมา8 นาที ส่วนบรรยากาศของห้องฉุกเฉินที่เคยมีเสียงดัง วุ่นวาย กลับสงบมากขึ้น ญาติพอใจสูงถึงร้อยละ 9กิตต์กวี โพธิ์โน 
          ทั้งนี้ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินที่รับบริการที่รพ.จิตเวชนครราชสีมาฯส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 8กิตต์กวี โพธิ์โน แพทย์จะรับตัวรักษาในโรงพยาบาล เพื่อดูแลควบคุมอาการให้สงบและฟื้นฟูทางด้านจิตใจอารมณ์ และสังคม อีกร้อยละ ผู้ป่วยจิตกิตต์กวี โพธิ์โน มีอาการดีขึ้น สามารถกลับบ้านได้โดยมีระบบส่งต่อให้สถานพยาบาลใกล้บ้านดูแลต่อเนื่อง ที่เหลืออีกร้อยละ ผู้ป่วยจิตกิตต์กวี โพธิ์โน ส่งรักษาต่อที่รพ.ฝ่ายกาย เนื่องจากผลการตรวจคัดกรองอาการพบว่าผิดปกติหรือเจ็บป่วยทางกาย เช่นระบบเกลือแร่ไม่สมดุล เป็นเบาหวาน มีความดันโลหิตสูง เป็นต้น 
          นางสมพรกล่าวต่ออีกว่า ขณะนี้ได้ขยายผลมาตรฐานการดูแลแนวใหม่นี้ให้แก่บุคลากรประจำแผนกผู้ป่วยนอกและห้องฉุกเฉินทุกคน และในปีงบประมาณ นครราชสีมา56โรงพยาบาล ที่จะถึงนี้ มีแผนขยายผลจัดอบรมพยาบาลจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน เพื่อพัฒนามาตรฐานการบริการผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินที่มีอาการก้าวร้าวให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้ง 4 จังหวัด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งผู้ ป่วย เจ้าหน้าที่ที่ช่วยเหลือ รวมทั้งชุมชนด้วย
จิตเวชโคราช พลิกโฉมใหม่บริการ “ห้องจิตเวชฉุกเฉิน” ใช้วาจาผูกมิตร ช่วยคลายพฤติกรรมอันตรายผู้ป่วยจิตเวช ได้ผลดี!!
 
จิตเวชโคราช พลิกโฉมใหม่บริการ “ห้องจิตเวชฉุกเฉิน” ใช้วาจาผูกมิตร ช่วยคลายพฤติกรรมอันตรายผู้ป่วยจิตเวช ได้ผลดี!!
จิตเวชโคราช พลิกโฉมใหม่บริการ “ห้องจิตเวชฉุกเฉิน” ใช้วาจาผูกมิตร ช่วยคลายพฤติกรรมอันตรายผู้ป่วยจิตเวช ได้ผลดี!!
 
จิตเวชโคราช พลิกโฉมใหม่บริการ “ห้องจิตเวชฉุกเฉิน” ใช้วาจาผูกมิตร ช่วยคลายพฤติกรรมอันตรายผู้ป่วยจิตเวช ได้ผลดี!!
 
 
 
 

ข่าวกิตต์กวี โพธิ์โน+ผู้ป่วยจิตวันนี้

จิตเวชโคราช ทำ “เจลแอลกอฮอล์” ล้างมือ พร้อมแจกฟรี!!ประชาชนทั่วไป ครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช ป้องกันโควิด-19

รพ.จิตเวชนครราชสีมาฯ ทำเจลแอลกอฮอล์ 70 % เพื่อใช้ล้างมือ ป้องกันโรคโควิด-19 โดยให้ผู้ป่วยจิตเวชที่อาการทางจิตทุเลาแล้วมีส่วนร่วม เพื่อฟื้นฟูทักษะงานอาชีพเตรียมพร้อมเข้าสู่ระบบการจ้างงานในอนาคต พร้อมแจกฟรีให้ประชาชนทั่วไปรวมทั้งครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช โดยให้เตรียมภาชนะไปใส่ เช่นขวดชนิดที่มีหัวกดปั๊ม อาจเป็นขวดที่ใช้แล้วและล้างสะอาด แห้งสนิท ไปรับได้ที่กลุ่มงานเภสัชกรรม โดยเจลจะมีอายุใช้งาน 3 เดือนหลังเปิดใช้ แนะให้เก็บไว้ในที่ร่ม นายแพทย์กิตต์กวี โพธิ์โน ผู้อำนวยการโรงพยาบาล(รพ.)จิต