ลุยแหล่งผลิตข้าวภาคเหนือ สำรวจแหล่งผลิตและทิศทางตลาด สุโขทัย-พิษณุโลก

          นางอัญชนา ตราโช รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึง
การลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์การผลิตและการตลาดข้าว ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย และพิษณุโลก ระหว่างวันที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3 – กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6 สิงหาคม 2562 เพื่อติดตามการเพาะปลูกข้าวเจ้านาปีของเกษตรกร ปริมาณผลผลิต การประสบภัยธรรมชาติ ตลอดจนราคาข้าวเปลือกที่ผู้ประกอบการโรงสีรับซื้อ ซึ่งทั้ง 2 จังหวัด เป็นแหล่งผลิตข้าวเจ้าคุณภาพดีที่สำคัญของประเทศโดยข้อมูลการผลิต (ข้อมูลผลพยากรณ์โดยศูนย์สารสนเทศการเกษตร ณ เดือนมิถุนายน 2562) พบว่า
          จังหวัดสุโขทัย มีเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 ประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร4 ล้านไร่ เนื้อที่เก็บเกี่ยว สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.99 ล้านไร่ ให้ผลผลิตรวม สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.55 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยวประมาณ 553 กิโลกรัม/ไร่ (ณ ความชื้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5 %) สำหรับจังหวัดพิษณุโลก มีเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 ประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.37 ล้านไร่เนื้อที่เก็บเกี่ยว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ล้านไร่ ให้ผลผลิตรวม สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.77 ล้านตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยวประมาณ 588 กิโลกรัม/ไร่ (ณ ความชื้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5 %)
          เมื่อเทียบกับเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปี ปีเพาะปลูก 256กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/62 พบว่า เนื้อที่เพาะปลูกของทั้ง 2 จังหวัด เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากภาครัฐมีมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน(ปีการผลิต 2562/63) ประกอบกับราคาข้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มสูงขึ้น เกษตรกรจึงกลับมาทำนาในที่นาที่เคยปล่อยว่าง แต่เนื้อที่เพิ่มขึ้นไม่มาก เนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกข้าวมีจำกัด
          อย่างไรก็ตาม เกษตรกรทั้ง 2 จังหวัด ได้ประสบปัญหาภัยแล้งในช่วงเดือนมิถุนายน - กลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งเกิดภาวะฝนทิ้งช่วง ต้นข้าวของเกษตรกรที่เพาะปลูกช่วงเดือนพฤษภาคม ได้รับความเสียหาย ต้นแคระแกร็น และแห้งตาย ส่งผลให้เนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโน้มลดลง ขณะที่มีเกษตรกรบางพื้นที่ในจังหวัดสุโขทัย เช่น อำเภอเมือง อำเภอบ้านด่านลานหอย อำเภอศรีสำโรง และในจังหวัดพิษณุโลก เช่น อำเภอเมือง อำเภอบางระกำ อำเภอบางกระทุ่ม อำเภอวัดโบสถ์ และอำเภอวังทอง ได้เลื่อนการเพาะปลูกข้าวออกไป เนื่องจากฝนมาล่าช้า โดยเกษตรกรได้เริ่มปลูกช่วงปลายเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม และจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ส่งผลให้ทำนาได้เพียงรอบเดียว จึงคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดลดลง (ปกติเกษตรกรจะเริ่มปลูกข้าวช่วงเดือนพฤษภาคม และจะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตและนำไปจำหน่ายในเดือนสิงหาคม) 
          สำหรับสถานการณ์ราคาข้าวเปลือกทั้ง 2 จังหวัดพบว่า ณ เดือนสิงหาคม 2562 ราคาอยู่ในเกณฑ์ดีและมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยจังหวัดสุโขทัย ราคาข้าวเปลือกเจ้าที่เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 25 - 26%) ประมาณตันละ 6,7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร - 7,2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร บาท และข้าวเปลือกเจ้า (ความชื้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5%) ประมาณตันละ 8,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร - 8,2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร บาท สำหรับจังหวัดพิษณุโลก ราคาข้าวเปลือกเจ้า
ที่เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 25 - 26%) ประมาณตันละ 6,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร - 7,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร บาท และข้าวเปลือกเจ้า (ความชื้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5%) ประมาณตันละ 8,2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร - 8,3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร บาท 
          ดังนั้น หากพิจารณาในภาพรวม เมื่อปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง ขณะที่ตลาดยังคงมีความต้องการข้าว ราคาข้าวเปลือกอาจจะรักษาระดับราคาอยู่ในเกณฑ์สูงได้ต่อเนื่องตลอดทั้งปี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรควรจะดูแลแปลงนาตลอดฤดูกาลเพาะปลูกอย่างสม่ำเสมอ ไม่ให้มีวัชพืช และศัตรูพืชระบาด เพื่อให้ได้ผลผลิตมีคุณภาพดี สามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูง นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาสนับสนุนเงินทุนให้กับสหกรณ์การเกษตรที่มีศักยภาพ เพื่อซื้อเครื่องอบลดความชื้นข้าวเปลือก เนื่องจากจะเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยชะลอปริมาณข้าวออกสู่ตลาดพร้อมกันเป็นจำนวนมาก เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาราคาข้าวเปลือกตกต่ำ
ลุยแหล่งผลิตข้าวภาคเหนือ สำรวจแหล่งผลิตและทิศทางตลาด สุโขทัย-พิษณุโลก
ลุยแหล่งผลิตข้าวภาคเหนือ สำรวจแหล่งผลิตและทิศทางตลาด สุโขทัย-พิษณุโลก
ลุยแหล่งผลิตข้าวภาคเหนือ สำรวจแหล่งผลิตและทิศทางตลาด สุโขทัย-พิษณุโลก

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร+กระทรวงเกษตรและสหกรณ์วันนี้

ไทย - จีน จับมือสร้างความสัมพันธ์ พร้อมเปิดตลาดสินค้าด้านการเกษตร

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกับ นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย (H.E. Mr. Han Zhiqiang) โดยมี ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นายเศรษฐเกียรติ กระจ่างวงษ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมกรมวิชาการเกษตร นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร นายปณิธาน มีไชยโย ผู้อำนวยการองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ผู้

นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงา... โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในระดับชุมชนสร้างอาชีพมั่นคง ต่อยอดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร — นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร...

นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักง... ไทยส่งเสริมบทบาทสตรีในภาคเกษตร ผลักดันความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ ในเวที CFS ครั้งที่ 51 — นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ...

สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินด... สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา — สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อเกษตรกรรม และระบบนิเวศครบครัน นายฉันทานนท์...

นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศ... สศก. ขึ้นรับรางวัล 'Excellent Open Data Hub' หน่วยงานเปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ โครงการ DIGI DATA AWARDS — นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ...

หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคต... ผู้บริหาร TQR ขยันสุดๆ — หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคตสดใส ต้องยกให้กับ บมจ.ที คิว อาร์ (TQR) เดินหน้าคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา...

ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ... TQM ร่วมมอบประกันอุบัติแก่เกษตรกรไทย ในโครงการ "คุ้มครองอุบัติเหตุ เซฟเกษตรอาสา" — ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม คอร์ปอเรชั่น จำกัด (...