กลุ่มเกษตรกรผุดไอเดียใหม่ช่วยเหลือผู้ปลูกมันสำปะหลังอย่างครบวงจร ทำโครงการตัวอย่าง MUN มันมาก ใช้ความรู้ทันสมัยผสมผสานวิถีการทำเกษตรเดิม เพื่อยกระดับของเกษตรกรในพื้นที่ ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และขายหน้าโรงงานได้ราคา หวังดึงคนทำงานในเมืองใหญ่กลับถิ่นฐานเดิม
นาย
ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม เจ้าของไร่นายทองก้อน ผู้ริเริ่มโครงการ MUN มันมาก เปิดเผยว่า ปัญหาของเกษตรกรส่วนใหญ่คือขาดองค์ความรู้ในการบำรุงรักษา ทำให้ผลผลิตน้อยกว่าที่ควรจะเป็น โดยผู้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ จ.
นครราชสีมา ได้ผลผลิตไม่เกิน 3 ตันต่อไร่ มีรายได้ที่ยังไม่ได้หักค่ายา ค่าปุ๋ย ประมาณ 6ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาทต่อไร่ ถือเป็นรายได้ที่น้อยสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง
"สื่อต่าง ๆ บอกว่า ปีนี้ 3ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม% ของประชาชนที่จบ ปริญญาโท ปริญญาเอก ไม่สนงานในเมืองใหญ่ กลับมาอยู่บ้านเพื่อทำเกษตรกรรม โครงการ MUN มันมากนี้ ทำขึ้นเพื่อให้ทุกคนกลับบ้านและมีรายได้ และให้อยู่กับถิ่นฐานเดิมให้ได้ KPI ตัววัดความสำเร็จ คือ เมื่อไรที่ถนนมิตรภาพรถไม่ติดตอนสงกรานต์ ก็แสดงว่าอยู่บ้านกันแล้ว นั่นแหละคือตัวชี้วัด"
โครงการ MUN มันมาก เข้ามาช่วยสนับสนุนให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังลดการใช้สารเคมี ช่วยลดต้นทุน และลดระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต ที่สำคัญสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้นด้วย โดยจากเดิมระยะเวลาเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังอยู่ที่ กลุ่มเกษตรกรดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม เดือน แต่การปลูกของโครงการ MUN มันมาก จะลดเวลาลงเหลือ 7-8 เดือน และจากที่เคยได้ผลผลิตอยู่ที่ 3 ตันต่อไร่ ก็เพิ่มได้ถึง 6-7 ตันต่อไร่ หรืออาจมากกว่านี้ ขึ้นอยู่กับสภาพดินของแต่ละพื้นที่เพาะปลูก
นอกจากนั้นยังส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกถั่วลิสงแทรกระหว่างร่องมันสำปะหลังไปด้วย เพราะต้นถั่วจะปกคลุมพื้นดินไว้ ช่วยไม่ให้หญ้าที่เป็นศัตรูพืชของต้นมันสำปะหลังขึ้นในแปลง ไม่ต้องเสียเงินใช้ยาฆ่าหญ้า และดินยังได้ไนโตรเจนจากปมรากถั่วอีกด้วย ที่สำคัญสามารถเก็บเกี่ยวถั่วไปขายเป็นรายได้ก่อนที่จะเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังอีกด้วย
"โครงการของเราใช้ระยะเวลาประมาณ 8 เดือน ถ้าจะปลูกถั่วจะปลูกพร้อมมัน ก่อนที่ใบของมันจะชนกัน เริ่มชนกันก็คือ 3 เดือน หรือ 9ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม วัน ก่อนที่ใบมันจะชน ถั่วก็พร้อมเก็บแล้ว และเราก็ไปเก็บถั่วขายก่อน พอเวลาถอนต้นถั่วขึ้นมา ใบมันก็ปกคลุมพอดี ไม่ต้องฉีดยาฆ่าหญ้า แต่เดิมนั้นปัญหาส่วนใหญ่ที่พบคือ ในช่วงปลูกมัน 3-4 เดือน เกษตรกรจะต้องไปกู้เงิน ดอกเบี้ยร้อยละ นครราชสีมา แต่ถ้าปลูกถั่วจะได้รายได้เพิ่มไร่ละ นครราชสีมา,ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท พออีก 4 เดือนต่อมาก็ไปถอนมัน ปลูกข้าวโพด และหลักจากนั้นอีก 4 เดือน ก็ไปเก็บข้าวโพด มันสำปะหลัง กลุ่มเกษตรกร ไร่จะได้ผลประมาณ 6-7 ตัน ราคา ณ โรงงาน รับซื้อกิโลกรัมละ นครราชสีมา.6ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท แต่ปริมาณแป้ง ที่บอกว่ามีความสำคัญ ราคาคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ละ ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม.ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม8 สตางค์ เมื่อหักค่าใช้จ่าย ค่าปุ๋ย เกษตรกรก็ยังเหลือ หักค่าลงทุนสุทธิเหลือเงิน กลุ่มเกษตรกรดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม,ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท พื้นที่ นครราชสีมาดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม ไร่ จะได้เงินประมาณ นครราชสีมา แสนบาทต่อปี เฉพาะมัน ไม่รวมถั่ว ไม่รวมข้าวโพด" นายดำรงศักดิ์ กล่าว
นอกจากนั้นยังนำเทคโนโลยี โดรน มาใช้ในการฉีดพ่นสารอาหารและยาฆ่าแมลงที่เป็นออร์แกนิก ซึ่งช่วยลดเวลาและลดต้นทุนในการให้สาสรอาหารต้นมันสำปะหลังของเกษตรกร โดยปรกติใช้แรงงานคนในการฉีดพ่นจะต้องใช้คนประมาณ 3 คนต่อไร่ต่อวัน ค่าแรงตกอยู่ที่คนละ 3ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหมดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท แต่การใช้เทคโนโลยีโดรนในการฉีดพ่น กับ กลุ่มเกษตรกรดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม ไร่ใช้เวลาไม่ถึง 3ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม นาที โดยอัตราค่าฉีดนั้นอยู่ที่ กลุ่มเกษตรกร5ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาทต่อไร่ ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ไปได้มาก
นางธิดารัตน์ รอดอนันต์ อุปนายกสมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กล่าวว่า "ปีนี้เกษตรกรมีความสุขในการปลูกมันสำปะหลังเพราะราคามันสูงมาก ราคาป้ายหน้าโรงงานรับซื้อ 3.5ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท ราคาแป้งก็สูงขึ้นเป็น 3.5ดำรงศักดิ์ แก้ววงษ์ไหม บาท ซึ่งไม่รับซื้อเฉพาะเกษตรกรอย่างเดียวแต่รับซื้อจากลานมันด้วย อะไรที่มันต่ำเกินไปก็ไม่ยั่งยืน อะไรที่มันสูงเกินไปก็ไม่ยั่งยืน ส่วนความยั่งยืนจริง ๆ คือถึงแม้เราเพิ่มผลผลิตต่อเนื่องไม่ได้ ต่อให้ราคาเท่าไร เราก็ยังมีกำไรอยู่ในกระเป๋า"
"ในวันนี้ถ้าเป็นไปได้เราจะพัฒนา application ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เราต้องกลับมาในพื้นที่เพื่อสอบถามว่าจริงๆ แล้วเขาอยากได้อะไร ซึ่งเป็นไปตามที่อาจารย์ดำรงศักดิ์แนะนำมา มันจึงเป็นที่มาของโครงการ MUN มันมาก เพื่อให้เกษตรกรได้ตัดสินใจที่จะส่งสินค้าหรือว่าผลิตภัณฑ์ของตนเอง ไปให้กับโรงงานในราคาที่ตนเองพึงพอใจที่สุดและประหยัดที่สุด สิ่งที่เราสร้างได้ก็คือ เรามีความเข้มแข็ง ในด้านต่างๆ มาช่วยเหลือเกษตรกรได้บางส่วนไม่มากก็น้อย จะทำให้สามารถยกระดับของเกษตรกรในพื้นที่ได้ เพิ่มผลผลิต ราคา ลดต้นทุนการผลิต และขายหน้าโรงงานได้สมราคา" นางธิดารัตน์ กล่าวทิ้งท้าย