ทีม "WARR Hyperloop" จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก ทำสถิติพัฒนาไฮเปอร์ลูปความเร็วสูงสุด 290 ไมล์/ชม. (467 กม./ชม.) โดยใช้ชิปของ Infineon

          ทีม WARR Hyperloop จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก (Technical University of Munich หรือ TUM) สร้างไฮเปอร์ลูปที่ทำความเร็วได้สูงสุดถึง การแข่งขัน9มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ไมล์/ชั่วโมง (467 กิโลเมตร/ชั่วโมง) ในระหว่างการแข่งขันพัฒนาไฮเปอร์ลูปครั้งที่ 3 ของอีลอน มัสก์ โดยกระสวยคาร์บอนไฟเบอร์ น้ำหนัก อีลอน มัสก์54 ปอนด์ (7มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กิโลกรัม) ซึ่งประกอบไปด้วยพาวเวอร์เซมิคอนดักเตอร์จำนวน อีลอน มัสก์44 ชิ้นจาก Infineon Technologies นี้ สามารถทำความเร็วได้มากกว่าทีมที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ (88 ไมล์/ชั่วโมง) ถึงสามเท่า การแข่งขันดังกล่าวถูกจัดขึ้นในท่อสุญญากาศ ความยาว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี.75 ไมล์ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับสำนักงานใหญ่ของ SpaceX ในเมืองลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา
          บริษัทเทคโนโลยีอวกาศระดับโลกได้จัดการแข่งขันดังกล่าวขึ้นร่วมกับ อีลอน มัสก์ ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท โดยมีทีมนักศึกษาจากประเทศต่าง ๆ จำนวน การแข่งขันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน ขณะที่ดึงดูดผู้เข้าชมเกือบ 6มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี คนจากทั่วโลก การแข่งขันรายการนี้ถูกจัดขึ้นเพื่อทดสอบความเป็นไปได้ทางเทคนิคของนวัตกรรมที่เรียกว่า ไฮเปอร์ลูป ซึ่งอีลอน มัสก์ ซีอีโอของ Tesla และผู้ก่อตั้ง SpaceX ตั้งใจที่จะนำมาใช้ในการขนส่งผู้คนและสินค้าด้วยความเร็วสูงระดับความเร็วเสียง

          Infineon สนับสนุนทีม WARR Hyperloop ในฐานะสปอนเซอร์และผู้จัดหาชิ้นส่วนประกอบให้กับทีม โดยทีมนักศึกษาได้รวมพาวเวอร์เซมิคอนดักเตอร์จำนวน อีลอน มัสก์44 ชิ้นเข้ากับไฮเปอร์ลูป เพื่อใช้ควบคุมแรงขับมอเตอร์ไฟฟ้า 8 ตัว ซึ่งส่งผลให้ไฮเปอร์ลูปของทีมสามารถสร้างสถิติความเร็วสูงสุดได้ นอกจากนี้ เซ็นเซอร์ของ Infineon ยังให้ข้อมูลสำหรับการตรวจจับตำแหน่งโรเตอร์ที่แม่นยำ ซึ่งเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการควบคุมมอเตอร์

          นอกจากการแข่งทำความเร็วสูงสุดแล้ว ยังได้มีการทดสอบโซลูชั่นสำหรับการเคลื่อนที่แบบไร้สัมผัสโดยใช้แม่เหล็ก ซึ่งเป็นวิธีเดียวที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเสียงได้ และทีม WARR Hyperloop ก็ได้ร่วมแข่งขันด้วย โดยแคปซูลของทีมสามารถลอยอยู่เหนือระยะ การแข่งขัน5 เมตรตามที่กำหนด ส่งผลให้พ็อดพลังแม่เหล็กของทีมนักศึกษาจากมิวนิกได้รับรางวัลนวัตกรรมไปครองอีก อีลอน มัสก์ รางวัลจาก 3 รางวัล ซึ่งพาวเวอร์โมดูลจาก Infineon ได้มีส่วนช่วยในการควบคุมกำลังขับด้วยเช่นกัน

          เกี่ยวกับ Infineon

          Infineon Technologies AG คือผู้นำระดับโลกด้านโซลูชั่นเซมิคอนดักเตอร์ที่ทำให้ชีวิตง่ายขึ้น ปลอดภัยขึ้น และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น นวัตกรรมไมโครอิเล็กทรอนิกส์ของบริษัทคือกุญแจสำคัญสู่อนาคตที่ดีกว่าเดิม ในปีงบการเงิน การแข่งขัน56มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี (สิ้นสุดวันที่ 3มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กันยายน) บริษัทมียอดขายราว 7.อีลอน มัสก์ พันล้านยูโร และมีพนักงานราว 37,5มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี คนทั่วโลก Infineon จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ต (สัญลักษณ์หุ้น: IFX) และจดทะเบียนในตลาด OTCQX International Premier ในสหรัฐอเมริกา (สัญลักษณ์หุ้น: IFNNY)

          ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.infineon.com

          ติดตามเราได้ทาง: Twitter - Facebook - LinkedIn

          รูปภาพ - https://photos.prnasia.com/prnh/การแข่งขันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีอีลอน มัสก์8มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี8การแข่งขัน8/การแข่งขันการแข่งขันการแข่งขันการแข่งขันการแข่งขัน69-อีลอน มัสก์



ข่าวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี+อีลอน มัสก์วันนี้

คณะวิศวฯ มจพ. จับมือ สมาคมการจัดการระบบคลังสินค้าไทย อบรมนักวิเคราะห์ระบบอัตโนมัติ SA ในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ พ.ศ 2568

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ร่วมกับ สมาคมการจัดการระบบคลังสินค้าไทย (TIA : Thai Intralogistics Association) และ เครือข่ายพันธมิตรของสมาคมการจัดการระบบคลังสินค้าไทย กำหนดจัดอบรมนักวิเคราะห์ระบบอัตโนมัติ System Analyst (SA ) รุ่นที่ 11 ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ พ.ศ 2568 (Transformation to Sustainable Smart Manufacturing) ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่าย คุณสมบัติผู้เข้าอบรมสำเร็จการศึกษาด้านเทคโนโลยี ระดับปริญญาตรีเป็นต้นไป หรือเป็นผู้ที่สนใจอยู่ระหว่างการเรียน

สอวช. ร่วมกับ มจธ. เปิดหลักสูตร STIP รุ่น... สอวช. ผนึก มจธ. เปิดหลักสูตร STIP รุ่นที่ 7 มุ่งผลิตนักออกแบบนโยบายตอบโจทย์ประเทศ — สอวช. ร่วมกับ มจธ. เปิดหลักสูตร STIP รุ่นที่ 7 มุ่งผลิตนักออกแบบนโยบาย...

รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลั... inFASH มทร.กรุงเทพ ระดมสมองวิเคราะห์แนวโน้มสีและวัสดุไลฟ์สไตล์ ปี 2027 — รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล( มทร.)กรุงเทพ เปิดเผยว...

ผศ.ดร.กิตติพงษ์ โสภณธรรมภาณ คณบดีคณะบริหา... มทร.กรุงเทพ จับมือ efinanceThai สร้างอินฟลูรุ่นใหม่สายการเงิน การลงทุน รู้ลึก รู้จริง มีจรรยาบรรณ — ผศ.ดร.กิตติพงษ์ โสภณธรรมภาณ คณบดีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิ...