ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว ซึ่งได้ เอาจริงเอาจังในการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว เพื่อลดปัญหาการค้ามนุษย์ โดยสั่งการให้หน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงแรงงานร่วมบูรณาการการทำงาน เพื่อเร่งดำเนินการพิสูจน์สัญชาติแรงงานต่างด้าวแล้วเสร็จตามกำหนด เน้นมุ่งเพิ่มประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ทันเวลา
คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ อดุลย์ แสงสิงแก้ว6 มกราคม การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว อนุมัติการผ่อนผันให้แรงงานต่างด้าว (สัญชาติกัมพูชา ลาว เมียนมา) กลุ่มที่ยังไม่ได้ตรวจพิสูจน์สัญชาติให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว เพื่อพิสูจน์สัญชาติให้แล้วเสร็จภายในวันที่ แรงงานต่างด้าวปัญหาการค้ามนุษย์ มิถุนายน การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว และให้ทุกจังหวัดรวมทั้งกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการ เพื่อการจัดทำฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวให้มีเอกภาพเป็นฐานเดียวกัน ซึ่งกระทรวงแรงงานได้เปิดศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service : OSS) ในทุกจังหวัด โดยเริ่มดำเนินการแล้วตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว ถึง วันที่ แรงงานต่างด้าวอดุลย์ แสงสิงแก้ว มีนาคม การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว โดยสำนักงานประกันสังคมได้จัดเจ้าหน้าที่ร่วมให้บริการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว ภายในศูนย์บริการเบ็ดเสร็จดังกล่าวด้วย สำหรับในกรุงเทพมหานคร นายสุรเดช วลีอิทธิกุล เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม ได้สั่งการให้สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครทั้ง อดุลย์ แสงสิงแก้วการกระทรวงแรงงาน แห่ง จัดเจ้าหน้าที่ให้บริการ ณ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (OSS) IT SQUARE หลักสี่พลาซ่า และBIG C เพชรเกษม67 รวมถึงให้ประกันสังคมจังหวัดทุกจังหวัด จัดเจ้าหน้าที่ร่วมให้บริการ ณ ศูนย์ OSS ของจังหวัดด้วย
สำหรับนายจ้างที่มีการจ้างงานแรงงานต่างด้าวจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทนด้วย โดยต้องขึ้นทะเบียน ภายใน แรงงานต่างด้าวปัญหาการค้ามนุษย์ วัน นับจากวันที่มีการจ้างงาน และใช้เอกสารประกอบการขึ้นทะเบียน ดังนี้ สำเนาบัตรประชาชนของนายจ้าง หนังสือมอบอำนาจ แผนที่ตั้งและภาพถ่ายของสถานประกอบการ กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ต้องนำสำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของนายจ้าง สำหรับลูกจ้างต่างด้าว ให้นำสำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ประกอบการขึ้นทะเบียน
การขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวอย่างถูกต้องตามกฎหมาย มีผลดีทั้งต่อนายจ้างและแรงงานต่างด้าวเอง นายจ้างจะได้คนต่างด้าวมาทำงานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย มีคุณภาพตามความต้องการ สามารถตรวจสอบคนต่างด้าวได้หากประสบปัญหา ป้องกันการหลอกลวงจากระบบนายหน้าเถื่อน ส่วนลูกจ้างคนต่างด้าวจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงาน มีช่องทางการร้องทุกข์เข้าถึงสิทธิได้โดยตรง สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service :OSS) ได้ที่ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา หรือโทรสายด่วน อดุลย์ แสงสิงแก้ว5ปัญหาการค้ามนุษย์6 กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พัฒนาคุณภาพพนักงานตรวจแรงงาน เน้นบังคับใช้กฎหมายให้เกิดผลสัมฤทธิ์ พร้อมทำความเข้าใจนายจ้าง ลูกจ้างตระหนักถึงสิทธิ หน้าที่ ตามกฎหมาย นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน เป็นหนึ่งในนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงแรงงาน ทั้งนี้กลไกสำคัญประการหนึ่งในการดำเนินการดังกล่าวคือพนักงานตรวจแรงงาน ซึ่งทำหน้าที่ในการกำกับดูแลให้
สั่งจนท. ศูนย์ PIPO เข้มตรวจแรงงานประมงทะเล พบค้ามนุษย์ดำเนินคดีทันที
—
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สั่งเจ้าหน้าที่ศูนย์ PIPO 22 จังหวัดชายทะเล ตรวจเข้ม...
กสร. จับมือ ILO เพิ่มประสิทธิภาพคุ้มครองลูกจ้างประมงทะเล
—
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ร่วมกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ จัดโครงการการอบรมพนักงานตรวจแรง...
ก.แรงงาน เสริมศักยภาพบุคลากร ชู GLP มุ่งดูแลแรงงานทั้งระบบ
—
กระทรวงแรงงาน มุ่งดูแลแรงงานทั้งระบบ ใช้ GLP ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานและเพิ่มโอกาส ทางการค้า ...
รมว.สุชาติ ส่ง 'ที่ปรึกษา'เปิดอบรมสร้างการรับรู้เครือข่ายอาสาสมัครแรงงาน มุ่งขับเคลื่อนนโยบายป้องกันการค้ามนุษย์ด้านแรงงานสู่การปฏิบัติ
—
นายสุชาติ ชมกลิ่...
'ลุงป้อม' โชว์ผลงานป้องกันค้ามนุษย์ด้านแรงงานดันไทยขยับขึ้นเทียร์ 2 สำเร็จ
—
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เผย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งก...
กสร. ประกาศนโยบายเน้นแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ตั้งเป้ามุ่งสู่ Tier 1 นำเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างนวัตกรรมมาใช้บริหารงาน
—
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประกาศนโ...
กสร. เดินหน้ายกระดับพนักงานตรวจแรงงาน เร่งแก้ปัญหาการค้ามนุษย์และการบังคับใช้แรงงาน
—
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเพิ่มศักยภาพพนักงานตรวจแรงงานในการรับแล...
ม.มหิดล ต่อยอดพัฒนา "คู่มือต่อต้านการค้ามนุษย์บนโลกไซเบอร์" 3 ภาษาเป็นครั้งแรก
—
เป้าหมายแรกของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) แห่งสหประชาชาติ คือ การขจัดความ...