พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เป็นประธานการประชุมมอบนโยบายและทิศทางการปฏิบัติราชการในปี การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว ณ ห้องประชุมจอมพล ป.พิบูลสงคราม ชั้น 5 อาคารกระทรวงแรงงาน โดยได้เน้นหนักนโยบายสำคัญและนโยบายเร่งด่วน (Agenda) คือ การเร่งรัดการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวที่ไม่มีเอกสารให้ถูกต้องแล้วเสร็จภายใน การบริหารจัดการอดุลย์ แสงสิงแก้ว มีนาคม การกระทรวงแรงงาน56อดุลย์ แสงสิงแก้ว ผลักดันและเร่งรัดการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมายด้านแรงงาน ตาม IUU Fishing ป้องกันมิให้มีการใช้แรงงานเด็ก
ในรูปแบบที่เลวร้าย คุ้มครองแรงงานไทยที่ทำงานในต่างประเทศ พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม แก้ปัญหาการหลอกลวงคนหางานไปทำงานต่างประเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนให้แรงงานนอกระบบเข้าถึงระบบหลักประกันทางสังคม ส่งเสริมการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ และขับเคลื่อนนโยบาย Safety Thailand
พล.ต.อ.อดุลย์ ยังได้มอบนโยบายบริหารการพัฒนา (Administrator) คือ ยกระดับศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (ศปก.) เพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บริหารในการอำนวยการติดตาม ควบคุมสั่งการ การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยทั้งระบบ โดยบูรณาการกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัดการออกกฎหมายสำคัญเพื่อแก้ไขปัญหาแรงงาน จำนวน อดุลย์ แสงสิงแก้วอดุลย์ แสงสิงแก้ว ฉบับ พัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพพนักงานตรวจแรงงานให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ ยกระดับกระทรวงให้เป็นหน่วยงานที่มีมาตรฐานสากล เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ข้อมูลแรงงานแห่งชาติ ด้วยการจัดระบบข้อมูล (Big Data) รวมทั้งพัฒนาประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์และการปฏิบัติการข่าวสารเพื่อสร้างการรับรู้ต่อการดำเนินนโยบายของกระทรวง
ส่วนนโยบายในระดับพื้นที่ (Area) ให้แรงงานจังหวัดเป็นตัวแทนของกระทรวงในภูมิภาคในการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงในระดับพื้นที่ ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการรายจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้มีการจัดระบบการทำงานที่เชื่อมโยง ประสานส่งต่อ และบูรณาการทรัพยากร นอกจากนี้ พล.ต.อ.อดุลย์ ยังได้กำชับให้มีการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ โดยให้ผู้บริหารทุกหน่วยงานชี้แจงนโยบายและมอบภารกิจที่รับผิดชอบเพื่อสร้างความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับ ให้ทุกหน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการ โดยให้บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกกระทรวง ให้ใช้ศูนย์ปฏิบัติการของหน่วยงานเป็นเครื่องมือการอำนวยการติดตาม เฝ้าฟัง แก้ไขสถานการณ์ และใช้กลไกคณะกรรมการระดับชาติและคณะอนุกรรมการระดับชาติในการขับเคลื่อนประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการและเชื่อมโยงกันอีกด้วย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรียกเจ้าหน้าที่ 22 จังหวัดชายทะเล วางแนวทางตรวจแรงงานในกิจการประมงทะเล เน้นสร้างความชัดเจนให้แก่ผู้เกี่ยวข้องและไม่เป็นภาระแก่นายจ้าง เจ้าของเรือ ควบคู่การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพนายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า รัฐบาลโดยกระทรวงแรงงาน ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมายขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU Fishing) ซึ่งพลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานได้กำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วน
ก.แรงงาน เสริมศักยภาพบุคลากร ชู GLP มุ่งดูแลแรงงานทั้งระบบ
—
กระทรวงแรงงาน มุ่งดูแลแรงงานทั้งระบบ ใช้ GLP ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานและเพิ่มโอกาส ทางการค้า ...
เกษตรฯ มุ่งแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) พร้อมช่วยเหลือเยียวยาชาวประมงที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการภาครัฐปี 2558 - 2559
—
นายกฤษฎา บุ...
รัฐบาลมอบเกียรติบัตร-เข็มเกียรติคุณ แก่ชาวประมง NGO เอกชน ภาครัฐ ร่วมปลดล็อคประมงไอยูยู
—
"บิ๊กตู่" ปลื้มประมงปลดใบเหลือง IUU จัดพิธีมอบใบประกาศ และเข็มเก...
ซีพีเอฟ ร่วมกับกลุ่ม SeaBOS ประกาศเจตนารมณ์สร้างอุตสาหกรรมอาหารทะเลโปร่งใส และยั่งยืน
—
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมกับผู้ประ...
ซีพีเอฟ ต่อยอดมาตรฐาน IFFO สู่กิจการในต่างประเทศ
—
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ ประกาศเดินหน้าต่อยอดมาตรฐาน IFFO Responsible Su...
กรมทรัพยากรทางทะเลฯกับภารกิจร่วมปลดใบเหลือง IUU
—
ปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม สาเหตุหลักที่ทำให้สหภาพยุโรป (EU) ประกาศให้ใบเ...
รมช.ลักษณ์ มุ่งผลักดันบทบาทการแก้ปัญหาการประมงของไทยในเวทีโลก
—
(เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2561) นายลักษณ์ วจนานวัช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข...