กลุ่มผู้นำเกษตรกรระดับประเทศประกาศเป็นแนวร่วมสนับสนุนการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒

          หลังวาระการประชุมเพื่อการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ เมื่อวันที่ สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทยชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร พฤศจิกายน สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย56พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช ที่ผ่านมา ผู้บริหารกลุ่มองค์กรการเกษตรระดับประเทศส่วนใหญ่ ต่างเห็นพ้องและเดินหน้าสนับสนุนกระบวนการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชฉบับดังกล่าว
          ผศ. ดร. ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย รศ. ดร. จวงจันทร์ ดวงพัตรา นายกสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา นายกสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย และ นายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ เลขาธิการสมาพันธุ์เกษตรปลอดภัย จัดการประชุมโต๊ะกลมร่วมกับตัวแทนกลุ่มเกษตรกร นักวิชาการ และสื่อมวลชน เพื่อพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นในประเด็นสำคัญด้านการเกษตรของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยกลุ่มผู้นำองค์กรการเกษตรในประเทศไทยได้มีการลงนามและประทับตราสัญลักษณ์ของกลุ่มองค์กรเพื่อแสดงเจตจำนงร่วมกัน
          สหภาพนานาชาติเพื่อคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (International Union for the Protection of New Varieties of Plants : UPOV) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีภารกิจด้านการจัดหาและสนับสนุนการใช้ระบบการทำงานในด้านความหลากหลายของพันธุ์พืชและการคุ้มครองพันธุ์พืช โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์พืชใหม่เพื่อมอบประโยชน์สู่สังคมโดยรวม
          ระบบการทำงานมุ่งเน้นในเรื่องการจดสิทธิบัตรพันธุ์พืช ซึ่งเรื่องนี้อาจทำให้เกษตรกรในประเทศกำลังพัฒนาบางส่วนเข้าใจผิดว่า ตนเองจะถูกกีดกันจากการใช้งานเมล็ดพันธุ์ใหม่ที่มีสิทธิบัตรคุ้มครอง และทำให้เกษตรกรรู้สึกเสียเปรียบ ในขณะเดียวกัน กลับมีผู้โต้แย้งว่า แท้ที่จริง การคุ้มครองพันธุ์พืชน่าจะมีข้อดีมากกว่า เพราะจะทำให้เกษตรกรสามารถนำเมล็ดพืชที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์ซึ่งสามารถต้านทานโรคและศัตรูพืชได้ดีกว่าเดิม ไปใช้งานอย่างเหมาะสมและได้รับประโยชน์มากยิ่งขึ้น
          การอภิปรายกันในประเด็นดังกล่าวนี้นับเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะสำหรับประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ส่งออกอาหาร และมีประชากรที่ประกอบอาชีพในภาคการเกษตรอยู่เป็นจำนวนมาก ฝ่ายรัฐบาลไทยแสดงการยอมรับในภารกิจของ UPOV โดยมีข้อยกเว้นเพื่อสงวนสิทธิ์และประโยชน์บางประการ
          ปัจจุบัน การวิจัยและพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการด้านอาหาร อาหารสัตว์ เส้นใย และพลังงานอย่างยั่งยืน มีการดำเนินงานกันอย่างจริงจังภายใต้สภาวะการแข่งขันที่เข้มข้น ซึ่งก่อให้เกิดกระบวนการคุ้มครองสิทธิทางปัญญาและการถกเถียงถึงประเด็นที่มีความสำคัญต่อเกษตรกรและนักพัฒนาผลิตภัณฑ์เหล่านี้
          เป้าหมายของการประชุมเมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ยังครอบคลุมถึงเรื่องสิทธิของนักปรับปรุงพันธุ์พืชในประเทศไทยและภารกิจของ UPOV
          ภายใต้กฎข้อบังคับ UPOVสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย99สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย ประเทศกำลังพัฒนาจะได้รับสิทธิ์บางประการในการใช้เมล็ดพันธุ์ ซึ่งรวมถึงข้อยกเว้นสำหรับผู้เพาะเมล็ดพันธุ์เพื่อการเพาะปลูกซึ่งไม่มีจุดประสงค์ทางการค้า อาทิ การปลูกเพื่อการบริโภคในครัวเรือน เป็นต้น
ร่างปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งประเทศไทยฉบับปัจจุบัน ยังระบุถึงข้อยกเว้นในกรณีที่รัฐมนตรีผู้มีอำนาจเกี่ยวข้องตัดสินอนุมัติให้กระทำได้

กลุ่มผู้นำเกษตรกรระดับประเทศประกาศเป็นแนวร่วมสนับสนุนการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒

ข่าวพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช+สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทยวันนี้

กลุ่มผู้นำเกษตรกรระดับประเทศประกาศเป็นแนวร่วมสนับสนุนการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒

หลังวาระการประชุมเพื่อการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ที่ผ่านมา ผู้บริหารกลุ่มองค์กรการเกษตรระดับประเทศส่วนใหญ่ ต่างเห็นพ้องและเดินหน้าสนับสนุนกระบวนการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชฉบับดังกล่าว ผศ. ดร. ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย รศ. ดร. จวงจันทร์ ดวงพัตรา นายกสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา นายกสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย และ นายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ

สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย จัดการนำเสนอข้อมูลและร่วมซักถาม ในหัวข้อ การพัฒนาเพื่ออนาคตที่ดีขึ้น ปลอดภัยขึ้น และรุ่งเรืองยิ่งขึ้น ของประเทศไทย

สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และสมาคมเกษตรปลอดภัย มั่นคง ยั่งยืนแห่งชาติ พร้อมด้วยสมาคมระดับประเทศหลายสมาคม...

กรมวิชาการเกษตรจัดประชุมสัมมนา “การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”

กรมวิชาการเกษตร จัดการประชุมสัมมนา เรื่อง “การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน” ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม 2558 ณ...

กรมวิชาการเกษตรจัดประชุมสัมมนา “การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”

กรมวิชาการเกษตร จัดการประชุมสัมมนา เรื่อง “การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน” ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 16 ธันวาคม 2557 ณ...

กรมวิชาการเกษตรเปิดขยายเวลา สรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองพันธุ์พืช

กรมวิชาการเกษตร เปิดขยายเวลาการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองพันธุ์พืช ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 ชุดใหม่ (พ.ศ.2557) แทนกรรมการชุดเดิมที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี ในวันที่ 6...

ภาพข่าว: สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย ร่วมเสวนา...ทำไมต้องใช้พันธุ์พืชดีมีคุณภาพ

สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย (THASTA) โดย ดร.ประเสริฐ ก้องเกียรติงาม (ที่1จากซ้าย) ประธานคณะอนุกรรมการด้านการคุ้มครองพันธุ์พืช ร่วมงานเสวนาจัดโดยกรมวิชาการเกษตร ในเรื่อง “ทำไมต้องใช้พันธุ์พืชดีมีคุณภาพ” และให้ข้อมูลการใช้...

3 สมาคม เผย คำจำกัดความ “พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป” เป็นอุปสรรคกับการวิจัยพัฒนาเกษตรประเทศไทย

สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย (THASTA) โดยนายพาโชค พงษ์พานิช จับมือกับ สมาคมปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย (Plant Breeding and Multiplication Association of Thailand ) และสมาคมเมล็ดพันธุ์...

ภาพข่าว: รมต.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศ 3 ยุทธศาสตร์เมล็ดพันธุ์ และเตรียมพร้อมไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานประชุมเมล็ดพันธุ์แห่งเอเซียและแปซิฟิค

นายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศ 3 ยุทธศาสตร์เมล็ดพันธุ์ มุ่งสนับสนุนให้ความสำคัญภาคเอกชน และกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพในการผลิตพืชพันธุ์ดี,...

ภาพข่าว: อีกก้าวของประเทศไทยในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับโลก

นางสุประภา โมฬีรตานนท์ (ที่ 4 จากซ้าย) ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการประชุมนานาชาติ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) ร่วมกับ ดร. ใจ ซิงห์ ประธานสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งภาคพื้นเอเซียและแปซิฟิค (ที่ 3 จากซ้าย) และพันธมิตร ได้แก่...

ภาพข่าว: ประชุมนานาชาติ ASIAN SEED CONGRESS 2009

ดร. ใจ ซิงห์ ประธานสมาคมเมล็ดพันธ์แห่งภาคพื้นเอเซียและแปซิฟิค (ที่ 3 จากซ้าย) จับมือกับนางสุประภา โมฬีรตานนท์ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการประชุมนานาชาติ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) และพันธมิตร ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร...