ภาษาไม่ใช่อุปสรรคปิดกั้นงานวิจัยอีกต่อไป เมื่อวารสารแบบเปิดกำลังทลายอิทธิพลของภาษาอังกฤษในวรรณกรรมวิทยาศาสตร์

          - Omics International เข้าถึงฐานผู้อ่านถึง 5กฎหมายลิขสิทธิ์ ล้านราย

          ดร. Srinubabu Gedela ซีอีโอของ OMICS International เปิดเผยว่า การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์แบบเปิด กำลังเข้ามาทลายอุปสรรคด้านภาษา โดยผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่เผยแพร่บนวารสารแบบเปิด (open access) นั้น สามารถนำไปแปลได้หลายภาษาโดยไม่ผิดกฎหมายลิขสิทธิ์ และเมื่อมีการนำเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ไปแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ทั้งภาษาในภูมิภาคและภาษาทั่วโลกแล้ว ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เหล่านี้ก็จะเข้าถึงผู้ยากจนได้ทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบัน รัฐบาลบางประเทศกำลังให้ความสำคัญกับการแปลเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์เป็นภาษาของตนเอง

          เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่เปิดให้เข้าถึงได้อย่างเสรีนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสังคม เนื่องจากช่วยขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจ ประเพณี และวัฒนธรรม วรรณกรรมที่เปิดเสรีช่วยขจัดอิทธิพลและลดความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจระหว่างคนรวยกับคนจน โดย ดร. Gedela กล่าวเสริมว่า "ปัจจุบันวงการตีพิมพ์ผลงานวิจัยแบบเปิดยังคงพยายามหาช่องทางที่จะทำให้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่มีความคุ้มค่า ราคาประหยัด หรือฟรี สามารถเข้าถึงได้ในทุกมุมโลก แม้แต่ในพื้นที่ที่ห่างไกลที่สุด"

          ดร. Srinubabu Gedela แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวเรื่องข่าวปลอมและบล็อกปลอมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันว่า "ข่าวปลอมและบล็อกปลอมบางราย ซึ่งเกิดจากฝีมือของผู้ไม่หวังดีนั้น กำลังทำให้แวดวงวารสารแบบเปิดต้องเสียชื่อ บล็อกเกอร์จอมปลอมเหล่านี้เริ่มปิดบล็อก หลังจากที่ได้เงินมาจากกลุ่มผู้ตีพิมพ์ผลงานแบบที่ต้องเสียเงินเพื่อเข้าอ่าน หรือไม่ก็ทำเพื่อหาผลประโยชน์เข้าตัวเอง โดยผู้ตีพิมพ์ผลงานแบบเสียเงินเข้าอ่านบางกลุ่มนั้นขายเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ให้กับชุมชนวิทยาศาสตร์ และจัดการเหล่ามาเฟียในวงการวิชาการด้วยการสนับสนุนจากบรรดาเทรดเอเจนซี่ อย่างไรก็ดี แนวโน้มที่ว่านี้กำลังเปลี่ยนแปลง เมื่อเหล่านักวิทยาศาสตร์ได้ออกตัวสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานแบบเปิด และนิยมตีพิมพ์ผลงานในวารสารแบบเปิดมากกว่า"

          ขณะนี้วารสารแบบเปิดชั้นแนวหน้าเริ่มจับกระแสดังกล่าวแล้ว ซึ่งดร. Gedela มองว่า "เป็นสัญญาณที่ดี" โดยการสนับสนุนจากบรรดาสมาคมวิชาการ ตลอดจนหน่วยงานรัฐ และสมาชิกในแวดวงวิทยาศาสตร์ กำลังหลั่งไหลเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย หลังจากที่ได้ตระหนักถึงประโยชน์มหาศาลของการตีพิมพ์ผลงานแบบเปิดในรูปแบบดิจิทัล

          OMICS International พร้อมด้วยพนักงานมากกว่า 3,กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์ คน ถือเป็นผู้บุกเบิกการเผยแพร่ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และการดูแลสุขภาพ พร้อมเฉลิมฉลองชัยชนะของการตีพิมพ์ผลงานวิชาการแบบเปิด ทั้งนี้ ด้วยความช่วยเหลือจากนักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงคุณวุฒิมากกว่า 5กฎหมายลิขสิทธิ์,กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์ คนที่คอยทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการ OMICS International จึงสามารถเติบโตจากที่มีวารสารเพียง วิทยาศาสตร์กฎหมายลิขสิทธิ์ ฉบับในปี 2552 สู่วารสารที่ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (peer reviewed journals) กว่า วิทยาศาสตร์,กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์ ฉบับในปี 256กฎหมายลิขสิทธิ์ และมีฐานผู้อ่านเพิ่มขึ้นแตะ 5กฎหมายลิขสิทธิ์ ล้านราย นอกจากนี้ OMICS Group ยังจับมือกับเหล่าพันธมิตรทั่วโลก ในการจัดการประชุมประจำปีด้านวิทยาศาสตร์และการดูแลสุขภาพมากกว่า 3,กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์ รายการ

          ติดต่อ: [email protected] ; โทร: 65กฎหมายลิขสิทธิ์-268-9744

          โลโก้ - https://mma.prnewswire.com/media/43วิทยาศาสตร์54กฎหมายลิขสิทธิ์/OMICS_International_Logo.jpg


ข่าวกฎหมายลิขสิทธิ์+วิทยาศาสตร์วันนี้

กรมทรัพย์สินทางปัญญา บก.ปอศ. และบีเอสเอ จับมือสานต่อภารกิจคุ้มครองลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ตั้งเป้าลดอัตราการละเมิดฯ เร็วสุดในอาเซียน

- กรมทรัพย์สินทางปัญญาขานรับมติ ครม. จัดทำคู่มือจัดซื้อลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ในภาครัฐ พร้อมเดินหน้าแก้ไข กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ทันสมัยรองรับเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาลิขสิทธิ์ดิจิทัล - บก.ปอศ. ดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ 469 คดี ในปี 2562 เร่งตรวจสอบอีกกว่า 100 องค์กร จากเบาะแส ที่ได้รับ - บีเอสเอชี้จุดอ่อนองค์กรธุรกิจไทยขาดทักษะการบริหารจัดการสินทรัพย์ซอฟต์แวร์ เสี่ยงลดความปลอดภัยในการรักษาความลับทางการค้าและข้อมูลสำคัญ กรมทรัพย์สินทางปัญญา บก.ปอศ. และบีเอสเอ พันธมิตรซอฟต์แวร์ เดินหน้ารณรงค์ส่ง

ดร.อังค์วรา ไชยอนงค์ อาจารย์ประจำคณะนิติศ... DPU คว้า 2 รางวัล "วิทยานิพนธ์ระดับดี สาขานิติศาสตร์" จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ — ดร.อังค์วรา ไชยอนงค์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลั...

Globe Telecom ผนึกกำลัง CAP หนุนร่างกฎหมายลิขสิทธิ์ออนไลน์ในฟิลิปปินส์

Globe Telecom ผู้นำแคมเปญต่อต้านการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ในฟิลิปปินส์ #PlayItRight จับมือกับพันธมิตรเพื่อการต่อต้านการละเมิดลิขสิทธิ์ (Coalition Against Piracy: CAP) สนับสนุนร่างกฎหมายเพื่อบล็อคเว็บไซต์ที่เผยแพร่งานอันมีลิขสิทธิ์ ...

ภาษาไม่ใช่อุปสรรคปิดกั้นงานวิจัยอีกต่อไป เมื่อวารสารแบบเปิดกำลังทลายอิทธิพลของภาษาอังกฤษในวรรณกรรมวิทยาศาสตร์

- Omics International เข้าถึงฐานผู้อ่านถึง 50 ล้านราย ดร. Srinubabu Gedela ซีอีโอของ OMICS International เปิดเผยว่า การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์แบบเปิด กำลังเข้ามาทลายอุปสรรคด้านภาษา ...

เรียนเชิญนิสิต นักศึกษา ร่วมประกวดโครงการ... เรียนเชิญนิสิต นักศึกษา ร่วมประกวดโครงการ "Copyright Motion INFOGRAPHICS CONTEST 2016 — เรียนเชิญนิสิต นักศึกษา ร่วมประกวดโครงการ "Copyright Motion INFOGR...

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เชิญทุกท่านร่วมฟังการเสวนา ภายใต้หัวข้อ “รู้จริงกฎหมายลิขสิทธิ์ รอดทั้งธุรกิจ รอดทั้งคนทำ”

ดร.ภูษิต วงศ์หล่อสายชล ผู้อำนวยการหลักสูตร MBA Online มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ขอเชิญทุกท่านร่วมฟังการเสวนา ภายใต้หัวข้อ "รู้จริงกฎหมายลิขสิทธิ์ รอดทั้งธุรกิจ รอดทั้งคนทำ" เพื่อ...

ภาพข่าว: 10 ปี เอ็มพีซี มิวสิค เดินหน้าสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับลิขสิทธิ์เพลงในไทย

นายธนิต เชิญพิพัฒน์ พร้อมด้วยนายนัดดา บุรณศิริและนายรณพงศ์ คำนวณทิพย์ กรรมการบริหาร บริษัท เอ็มพีซี มิวสิค จำกัด ที่ปรึกษาด้านลิขสิทธิ์เพลงยักษ์ใหญ่อันดับ 1 ของเมืองไทย ที่ถือครองลิขสิทธิ์เพลงกว่า 90% ทั่วโลก...

เอ็มพีซี มิวสิค (MPC Music) เบอร์หนึ่งด้านธุรกิจลิขสิทธิ์เพลงของเมืองไทย ประกาศความพร้อมรุกตลาดเต็มสูบ หลังศิลปินนักแต่งเพลงยกนิ้วเรื่อง “โปร่งใส เป็นธรรม ได้มาตรฐาน”

เอ็มพีซี มิวสิค (MPC Music) เบอร์หนึ่งด้านธุรกิจลิขสิทธิ์เพลงของเมืองไทยประกาศความพร้อมรุกตลาดเต็มสูบ หลังศิลปินนักแต่งเพลงยกนิ้ว...

Digital Agenda Thailand ครั้งที่ 4 : เปิดเวทีนักคิดไทย ถกประเด็นเรื่อง “สิทธิ กับกฎหมายลิขสิทธิ์” ชี้สังคมไทยได้อะไรจากกรณี “จอดำ”

Digital Agenda Thailand หรือ“วาระดิจิทัล รู้ทันโลก ร่วมเปิดไทย” โครงการดีๆ ยังคงมุ่งมั่นรณรงค์ให้ความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสื่อยุคดิจิทัลทุกเรื่อง เพื่อ...

ข่าวซุบซิบ: วง 3RD(Three-R-D)

ศิลปินวง 3RD(Three-R-D) ได้รับเกียรติจาก กรมทรัพย์สินทางปัญญา ให้เป็นตัวแทนศิลปินไปร่วมเสวนาเรื่อง “หยาดเหงื่อคนบันเทิง กับงานบนเน็ต” โดยมีวัตถุประสงค์เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์ และเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันระหว่างศิลปิน, เจ้าของค่ายเพลง ...