เตือนผู้หญิงไทย...โรคมะเร็งภัยร้าย...ใกล้ตัว

          ปัญหาสุขภาพของผู้หญิงที่ไม่ควรมองข้าม หากเกิดความผิดปกติต้องรีบตรวจเช็คเพราะมันจะเป็นภัยที่สามารถคุกคามในผู้หญิงได้ โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ที่เกิดขึ้นจากหลายปัจจัยทำให้สารทางพันธุกรรมเกิดความผิดปกติ และบางส่วนสามารถถ่ายทอดสารทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ได้ มะเร็งสามารถเจริญเติบโต เพิ่มจำนวนเซลล์ เพิ่มขนาดได้เองอย่างรวดเร็วและลุกลามทำลายเนื้อเยื่ออวัยวะที่ปกติกระจายไปยังอวัยวะอื่นๆที่ใกล้เคียงได้อีกด้วย
มะเร็งรังไข่
          มะเร็งรังไข่ เป็นมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรีที่พบมากเป็นอันดับที่ 7 ของมะเร็งสตรีทั่วโลก และพบเป็นอันดับที่ 6 ของมะเร็งสตรีในประเทศไทย รองจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปอด มะเร็งตับ และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคมะเร็งรังไข่ ได้ทุกช่วงอายุ ตั้งแต่ ผู้หญิงมะเร็งรังไข่-8มะเร็งรังไข่ ปี โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 5มะเร็งรังไข่-6มะเร็งรังไข่ ปี
          พญ. ดวงมณี ธนัพประภัศร์ สูตินรีแพทย์และมะเร็งนรีเวช รพ.วัฒโนสถ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า สัญญาณเตือนที่ควรมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย หากมีอาการท้องอืดเป็นประจำ อาหารไม่ย่อย ปวดท้องเรื้อรัง รับประทานยาลดกรดไม่ดีขึ้น มักมีอาการท้องโตกว่าปกติและคลำพบก้อน มีก้อนในท้องน้อยหรือปวดแน่นท้อง และหากเป็นก้อน ที่มีขนาดโตมากก้อนเนื้อนั้นจะไปกดกระเพาะปัสสาวะหรือลำไส้ส่วนปลายจนทำให้ถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระลำบาก ตามด้วยอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด ในระยะท้ายๆของโรคอาจมีน้ำในช่องท้องทำให้ท้องโต ขึ้นกว่าเดิม ผอมแห้งและภาวะขาดอาหารร่วมด้วย

วิธีการตรวจและวินิจฉัยโรคมะเร็งรังไข่

          โรคมะเร็ง. การตรวจร่างกาย ร่วมกับการตรวจภายในมักจะคลำพบก้อนในท้อง หรือบริเวณท้องน้อยและการคลำพบก้อนรังไข่ได้ในสตรีวัยหมดประจำเดือนร้อยละ 3มะเร็งรังไข่ มักเป็นมะเร็งของรังไข่ (เพราะตามปกติวัยหมดประจำเดือน รังไข่จะฝ่อและมีขนาดเล็กลง)
          ผู้หญิง. การตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound) ช่วยบอกได้ว่ามีก้อนหรือมีน้ำในช่องท้อง ในบางรายที่อ้วนหรือหน้าท้องหนามาก การตรวจร่างกายตามปกติอาจตรวจได้ยาก ดังนั้นควรตรวจร่วมกับการตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงควบคู่ไปด้วย
          3. การตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ มีความละเอียดแม่นยำสูง สามารถเห็นภาพลักษณะ ขนาด และจำนวนก้อนในท้อง สามารถตรวจต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะอื่นๆในช่องท้องได้
          4. การตรวจเลือดประกอบเพื่อช่วยในการวินิจฉัย และติดตามการรักษา

          สำหรับสุภาพสตรีที่มีอายุ 3มะเร็งรังไข่-35 ปีขึ้นไป ควรมีการตรวจเช็คสุขภาพและตรวจภายในอย่างน้อยปีละ โรคมะเร็ง ครั้งร่วมกับการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับสตรีที่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งควรตรวจห้องปฎิบัติการเพิ่มเติมตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติควร---ปรึกษาสูตินรีแพทย์

มะเร็งปากมดลูก
          มะเร็งปากมดลูกพบได้บ่อยที่สุดสำหรับอวัยวะสืบพันธุ์สตรี และเป็นมะเร็งที่แพทย์มีการศึกษาและเข้าใจถึงสาเหตุของมะเร็งที่อวัยวะนี้ การค้นหาสามารถทำได้ง่ายและสามารถป้องกันได้ ถึงอย่างไรก็ดี ก็ยังมีสตรีชาวไทยเสียชีวิตจากมะเร็งของปากมดลูกเฉลี่ยแล้วประมาณวันละ โรคมะเร็งมะเร็งรังไข่ คน
          พญ. ดวงมณี ยังให้รายละเอียดเพิ่มเติมอีกว่า อาการแสดงของมะเร็งปากมดลูก ระยะก่อนมะเร็ง หรือระยะเริ่มต้นของโรคนี้ จะไม่มีอาการแสดงที่ผิดปกติ แต่ยกเว้นถ้าเป็นโรคมะเร็งมากพอสมควร อาจมีอาการ ดังนี้
          - เลือดออกทางช่องคลอดที่ผิดปกติ (Abnormal vaginal bleeding)
          - การมีระดูขาวที่ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้ามีกลิ่นเหม็น
          - ถ้ากระจายไปยังอวัยวะอื่น อาจมีอาการปวด ถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเป็นเลือดได้

          ดังที่กล่าวมาแล้วว่าระยะก่อนมะเร็ง หรือมะเร็งที่เพิ่งเริ่มเป็น จะไม่มีอาการและการรักษาทำได้ง่าย มีโอกาสที่จะหายขาดได้สูง วิธีที่จะทราบได้คือการมารับการตรวจภายใน เพื่อเอาเซลล์จากปากมดลูกมาตรวจที่เรียกกันว่าตรวจแป๊ป (Pap Smear) และถ้าตรวจร่วมกับการหาเชื้อไวรัส HPV(HPV DNA Test) จะทำให้ได้รับความแม่นยำมากขึ้น

มะเร็งเต้านม
          หนึ่งในโรคร้ายที่ผู้หญิงทั่วโลกต่างหวาดกลัวคือมะเร็งเต้านม ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิงและมีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับสองรองจากมะเร็งปอด แต่ความน่ากลัวของมะเร็งเต้านมจะลดลงตามความเร็วในการตรวจค้นพบ จึงแนะนำให้ผู้หญิงไทยใส่ใจกับการตรวจหามะเร็งเต้านมอย่างจริงจัง เพราะยิ่งพบเร็วเท่าไร ยิ่งลดความรุนแรงของโรคและอัตราเสี่ยงต่อการเสียชีวิตลงได้มากเท่านั้น
นพ.สาธิต ศรีมันทยามาศ แพทย์ศัลยกรรมมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลวัฒโนสถ ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า มะเร็งเต้านมสามารถเกิดได้กับผู้หญิงทุกคน และยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แท้จริงได้ แต่สิ่งที่ทำได้คือการตระหนักว่าเราอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือไม่ เช่น มีคนในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม โดยเฉพาะญาติสายตรง ได้แก่ แม่ พี่สาว หรือน้องสาว และถ้ามีญาติสายตรงป่วยเป็นมะเร็งหลายคน ความเสี่ยงจะยิ่งสูงขึ้น ในกรณีเป็นญาติสายรองลงไป เช่น คุณยายความเสี่ยงจะไม่สูงมาก อีกกลุ่มหนึ่งคือสตรีที่ไม่เคยตั้งครรภ์ หรือเริ่มมีประจำเดือนตั้งแต่อายุยังน้อย กว่า โรคมะเร็งผู้หญิง ปี หรือประจำเดือนหมดหลังอายุ 55 ปี นอกจากนี้ ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ การใช้ยาฮอร์โมนทดแทนสำหรับวัยทองติดต่อกันเป็นเวลานาน ภาวะอ้วน การสูบบุหรี่ และ การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
          และนอกจากการหลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงด้วยการปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี อีกวิธีที่ช่วยคัดกรองมะเร็งเต้านมให้ตรวจพบได้ระยะแรกๆ คือ การตรวจคลำเต้านมตรวจด้วยตัวเอง หรือ Breast Self-Examination ซึ่งเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และไม่มีค่าใช้จ่าย โดยแนะนำให้ผู้หญิงที่มีอายุ ผู้หญิงมะเร็งรังไข่ ปีขึ้นไป ทุกคนทั้งกลุ่มเสี่ยงและไม่มีปัจจัยเสี่ยง ควรตรวจเต้านมด้วยตัวเองเดือนละหนึ่งครั้ง ช่วงเวลาที่เหมาะสมคือหลังหมดประจำเดือนหนึ่งสัปดาห์ ถ้าหากต้องการตรวจคัดกรองให้พบมะเร็งเต้านมได้เร็วยิ่งขึ้น และวิธีที่ได้รับการยอมรับและเป็นมาตรฐานคือ "การตรวจด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรมและอัลตร้าซาวด์ (digital mammogram and ultrasound)" ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในการตรวจหาความผิดปกติของเต้านมแม้เพียงขนาดเล็กระดับมิลลิเมตร
          สำหรับสุภาพสตรีที่มีอายุ 3มะเร็งรังไข่-35 ปีขึ้นไป ควรมีการตรวจเช็คสุขภาพภายในอย่างน้อยปีละ โรคมะเร็ง และสุภาพสตรีที่มีอายุ 4มะเร็งรังไข่ ปีขึ้นไปควรตรวจมะเร็งเต้านมอย่างน้อย ปีละ โรคมะเร็ง ครั้ง ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรมและอัลตร้าซาวด์ ร่วมกับการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งควรตรวจห้องปฎิบัติการเพิ่มเติมตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติควรปรึกษา อายุรแพทย์และศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านโรคมะเร็ง ที่โรงพยาบาลวัฒโนสถ โทร.โรคมะเร็ง7โรคมะเร็ง9
เตือนผู้หญิงไทย...โรคมะเร็งภัยร้าย...ใกล้ตัว
 
เตือนผู้หญิงไทย...โรคมะเร็งภัยร้าย...ใกล้ตัว


ข่าวมะเร็งรังไข่+โรคมะเร็งวันนี้

มะเร็งหัวใจ" โรคร้าย หายาก รักษายาก ลุกลามเร็ว แพทย์ชี้….พบอัตราการเกิดโรคน้อยกว่า 2 คนต่อประชากร 100,000 คน โอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วยน้อยมาก!!!

เมื่อพูดถึงโรคร้ายอย่าง "มะเร็ง" หลาย ๆ คนมักนึกถึง มะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ ฯ เพราะเป็นโรคร้ายที่พบบ่อย กลายเป็นภัยใกล้ตัวที่ทุกคนต้องระวัง แต่คุณจะรู้หรือไม่ นอกจากโรคมะเร็งยอดฮิตทั่วไป ยังมีมะเร็งอีกชนิดหนึ่งที่อันตรายมาก ๆ อัตราการเกิดโรคน้อย การรักษายาก โอกาสในการรอดชีวิตของผู้ป่วยน้อยมาก นั่นก็คือ "โรคมะเร็งหัวใจ" "โรคมะเร็งหัวใจ" คืออะไร? พญ.อัณณาช์ เตรียมอนุรักษ์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ กล่าวว่า โรคมะเร็งหัวใจ (Cardiac cancer หรือ Heart cancer) เป็นโรคที่พบได้น้อยมาก

มะเร็งระบบสืบพันธุ์ในเพศหญิงที่หลายคนอาจค... รู้จัก..มะเร็งรังไข่ — มะเร็งระบบสืบพันธุ์ในเพศหญิงที่หลายคนอาจคุ้นชื่อกันมานานนั่นคือ มะเร็งรังไข่ แม้โรคนี้ยังไม่ทราบสาเหตุที่น่าชัด ...

นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำน... กทม.แนะสตรีตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน — นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ (สนพ.) กทม. กล่าวกรณีกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ราย...

"มะเร็งรังไข่" กับอาการที่คุณอาจไม่ทันสัง... "มะเร็งรังไข่" กับอาการที่คุณอาจไม่ทันสังเกต!! — "มะเร็งรังไข่" กับอาการที่คุณอาจไม่ทันสังเกต!! รู้ไหมว่า? "มะเร็งรังไข่" เป็นมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ข...

เนื่องในวันที่ 8 พฤษภาคม ของทุกปี เป็น "ว... มะเร็งชนิดเยื่อบุผิวรังไข่ — เนื่องในวันที่ 8 พฤษภาคม ของทุกปี เป็น "วันมะเร็งรังไข่สากล" World Ovarian Cancer Day เพื่อร่วมรณรงค์เสริมสร้างความรู้ความ...

"เนื้องอกรังไข่" เป็นอีกหนึ่งโรคที่คุณผู้... แค่อ้วนลงพุง หรือเป็นเพราะคุณมี "เนื้องอกรังไข่" — "เนื้องอกรังไข่" เป็นอีกหนึ่งโรคที่คุณผู้หญิงควรต้องรู้จักและเฝ้าสังเกตให้มาก เพราะมันสามารถพบเจอได้...

การผ่าตัดมดลูก คือ เป็นการผ่าตัดนำเอามดลู... แพ็กเกจผ่าตัดมดลูกทางหน้าท้อง ที่ รพ. บี.แคร์ฯ — การผ่าตัดมดลูก คือ เป็นการผ่าตัดนำเอามดลูก หรือ อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง ซึ่งมีไว้เพื่อให้ทารกได้...

เดือนสิงหาคมเป็นเดือนของคุณแม่... โรงพยาบ... รพ.ธนบุรี จัดโปรฯ ตรวจสุขภาพเพื่อคุณผู้หญิง — เดือนสิงหาคมเป็นเดือนของคุณแม่... โรงพยาบาลธนบุรี #เป็นห่วงนะ ขอเชิญชวนคุณผู้หญิงทุกท่านหันมาห่วงใย...

คุณเรวดี ไผ่เกาะ ผู้อำนวยสายบริหาร รพ.ธนบ... รพ.ธนบุรี 2 จัดเสวนาหัวข้อ “ มะเร็งรังไข่ ภัยเงียบที่ผู้หญิงควรรู้ ” — คุณเรวดี ไผ่เกาะ ผู้อำนวยสายบริหาร รพ.ธนบุรี 2 และนายแพทย์รังสรรค์ ชัยเสวิกุล ผู้อำ...

เพราะอาการที่เกิดขึ้นในระยะเริ่มต้นนั้นแท... สัญญาณเตือนมะเร็งรังไข่ ที่ไม่ทันสังเกต — เพราะอาการที่เกิดขึ้นในระยะเริ่มต้นนั้นแทบจะไม่มีอาการบ่งบอกได้เลย หรือดูจะไม่เกี่ยวข้องกับมะเร็งรังไข่เลย เช่น...