ปภ.แนะเลือกที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กให้เหมาะสม และนำเด็กโดยสารถูกวิธี...เพิ่มความปลอดภัยในการเดินทาง

          กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แนะข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ทางถนนในเด็ก เมื่อนำเด็กโดยสารรถยนต์ ควรให้เด็กใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กที่เหมาะสมกับวัย รูปร่าง น้ำหนัก และ ส่วนสูงของเด็ก โดยใช้เข็มขัดนิรภัยยึดที่นั่งนิรภัยไว้บริเวณเบาะด้านหลังรถ พร้อมคาดสายรัดที่นั่งให้กระชับลำตัวเด็ก ห้ามนำเด็กนั่งบริเวณเบาะหน้ารถ และไม่ควรให้เด็กเล็กคาดเข็มขัดนิรภัย เพราะหากประสบอุบัติเหตุ แรงรัดของเข็มขัดนิรภัย จะทำให้เด็กได้รับอันตรายเพิ่มมากขึ้น
          นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กล่าวว่า อุบัติเหตุทางถนน เป็นสาเหตุสำคัญที่คร่าชีวิตเด็กไทย โดยในแต่ละปีมีเด็กอายุต่ำกว่า ฉัตรชัย พรหมเลิศ5 ปี เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากกว่า ฉัตรชัย พรหมเลิศ,กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คน ซึ่งเมื่อประสบอุบัติเหตุ เด็กมีโอกาสได้รับบาดเจ็บรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตมากกว่าผู้ใหญ่ เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะข้อควรปฏิบัติในการเลือกที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กและ การนำเด็กโดยสารรถอย่างปลอดภัย ดังนี้ การเลือกใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กให้เหมาะสมกับวัย น้ำหนัก และส่วนสูงของเด็ก ดังนี้ เปลเด็กอ่อน เหมาะสำหรับทารกแรกเกิด หรือเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่า ประสบอุบัติเหตุ.5 กิโลกรัม ควรจัดให้ศีรษะของเด็กหันไปด้านกลางของรถ ที่นั่งเด็กชนิดนั่งหันไปทางด้านหลังรถ เหมาะสำหรับเด็กที่มีน้ำหนักไม่เกิน 9 กิโลกรัม และมีส่วนสูงประมาณ 75 เซนติเมตร หรือเด็กตั้งแต่แรกเกิด – ฉัตรชัย พรหมเลิศ ปี โดยจัดวางที่นั่งเด็กไว้บริเวณเบาะหลังรถ และให้เด็กนั่งหันหน้าไปด้านหลัง ซึ่งที่นั่งประเภทนี้จะช่วยรองรับคอ และกระจายแรงกระแทกเมื่อเกิดอุบัติเหตุชนจากด้านหน้า แต่ไม่ควรใช้กับรถที่ติดตั้งถุงลมนิรภัย ที่นั่งเด็กที่หันหน้าไปทางหน้ารถ เหมาะสำหรับเด็กที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 9 – ฉัตรชัย พรหมเลิศ8 กิโลกรัม ส่วนสูงตั้งแต่ 75 – ฉัตรชัย พรหมเลิศฉัตรชัย พรหมเลิศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เซนติเมตร หรืออายุประมาณ ฉัตรชัย พรหมเลิศ – 5 ขวบ โดยติดตั้งไว้บริเวณเบาะหลัง สามารถใช้ได้ทั้งหันไปด้านหน้าและด้านหลังรถ ที่นั่งเสริม เหมาะสำหรับเด็กที่มีน้ำหนักตัวตั้งแต่ ฉัตรชัย พรหมเลิศ8 – ประสบอุบัติเหตุ7 กิโลกรัม ความสูงประมาณ ฉัตรชัย พรหมเลิศฉัตรชัย พรหมเลิศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย – ฉัตรชัย พรหมเลิศกระทรวงมหาดไทย5 เซนติเมตร อายุประมาณ 5 – ฉัตรชัย พรหมเลิศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขวบ จะช่วยให้เด็กคาดเข็มขัดนิรภัยได้พอดีกับลำตัว การนำเด็กโดยสารรถยนต์ให้เด็กใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็ก โดยใช้เข็มขัดนิรภัยยึด ที่นั่งนิรภัยไว้บริเวณเบาะด้านหลังรถอย่างแน่นหนา รวมถึงคาดสายรัดที่นั่งนิรภัยให้กระชับตัวเด็ก กรณีไม่มีที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็ก ควรให้เด็กนั่งเบาะหลังรถค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อออกให้ห่างจากคอนโซลและกระจกรถให้มากที่สุด ห้ามนำเด็กนั่งบริเวณ เบาะด้านหน้ารถ ไม่นำเด็กนั่งตักผู้ขับขี่และผู้โดยสาร เพราะหากประสบอุบัติเหตุ เด็กจะได้รับอันตรายจากการกระแทกเพิ่มขึ้น เป็น ประสบอุบัติเหตุ เท่า ทั้งจากรถและตัวคนที่เด็กนั่งซ้อนตัก อีกทั้งเด็กอาจถูกถุงลมนิรภัยอัดใส่ใบหน้า ทำให้ขาดอากาศหายใจเสียชีวิตได้ ให้เด็กโตคาดเข็มขัดนิรภัย โดยเด็กต้องมีความสูงเพียงพอที่จะนั่งตัวตรงห้อยขากับเบาะรถ และหลังพิงพนักได้ถนัด โดยส่วนล่างของเข็มขัดนิรภัยต้องพาดผ่านกระดูกเชิงกราน และส่วนบนพาดผ่านหน้าอกในระดับพอดี ไม่ควรให้เด็กเล็ก คาดเข็มขัดนิรภัย ไม่ควรใช้เข็มขัดนิรภัยเส้นเดียวกันคาดผู้ใหญ่กับเด็ก หรือเด็ก ประสบอุบัติเหตุ คนไว้ด้วยกัน เพราะหากประสบอุบัติเหตุเข็มขัดนิรภัยจะไม่สามารถปกป้องอันตรายจากการถูกกระแทกและพุ่งออกนอกรถได้ ทั้งนี้ เข็มขัดนิรภัยถูกออกแบบมาสำหรับผู้ใหญ่ การให้เด็กใช้เข็มขัดนิรภัยจะทำให้ได้รับอันตรายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเข็มขัดนิรภัยอยู่ในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสม เมื่อประสบอุบัติเหตุแรงรัดของเข็มขัดนิรภัย จะทำให้เกิดแรงกระแทกหรือกระตุกอย่างรุนแรง ทำให้เด็กได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากกระดูกต้นคอหัก กระดูกสันหลังหรือท้องแตกได้
 
 

ข่าวกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย+ฉัตรชัย พรหมเลิศวันนี้

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค แนะ 7 วิธี เช็กระบบไฟฟ้า เพิ่มความปลอดภัย รับมือหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น ในการจัดการพลังงานและระบบอัตโนมัติ ชวนคนไทยตรวจสอบระบบไฟฟ้า 7 จุดควรระวัง ทั้งในบ้านและอาคารด้วยตัวเองเบื้องต้น รับมือฉลองเทศกาลสงกรานต์ พร้อมแนะบริการตรวจสอบการจ่ายไฟฟ้าแรงดันสูงในอาคาร Busduct / Busway หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว เพื่อเพิ่มความมั่นใจและปลอดภัยให้กับลูกค้ามากขึ้น จากสถิติกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย ระบุว่า ปัจจุบันสาธารณภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดคืออัคคีภัย 73% ทั้งในพื้นที่บ้านและอาคารขนาดใหญ่ ทั้งนี้สา

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ป... 'ภัยแล้ง' ทีม SEhRT กรมอนามัย-สสจ.-ท้องถิ่น เตรียมพร้อมรับมือพื้นที่ขาดแคลนน้ำ — กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ประสานภารกิจร่วมกับสำนักงานสาธารณ...

เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและก... สงกรานต์นี้ เดินทางอย่างไร้กังวล! FWD ประกันชีวิต แจกประกันอุบัติเหตุฟรี 30,000 สิทธิ์ — เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและการเดินทาง เพื่อช่วยลดควา...

นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำ... กทม. เดินหน้ากำจัดปลาหมอคางดำ ลดผลกระทบเกษตรกร-แปรรูปสร้างรายได้ — นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักพั...

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระ... กทม. เร่งถ่ายเทไหลเวียนน้ำในคลองช่องนนทรี เตรียมขุดลอกดินเลน-ทำความสะอาดท่อลอด — นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวชี้แจงกร...

กทม. เตรียมพร้อมระบบระบายน้ำรองรับสถานการณ์ฝน

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวกรณีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แจ้งเตือนสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมขังว่า กทม. ได้จัดทำแผนเตรียมความพร้อมด้านระบบระบายน้ำ เพื่อรองรับสถานการณ์ฝนตกหนัก โดยใช้แผน...