สยามคูโบต้า เน้นย้ำเทคโนโลยี การทำเกษตรแบบแม่นยำสูง โชว์นวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่น

          บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด นำนวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่นร่วมจัดแสดงและสาธิตการทำงานจริงในการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การเกษตรแบบแม่นยำสูง และทิศทางของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร ไทยแลนด์ 4.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย" และงาน "มหกรรมแทรกเตอร์และเครื่องจักรกลการเกษตร สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่นสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยการประชุมเชิงปฏิบัติการ7 @ลำตะคอง" ซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ในระหว่างวันที่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ8-สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่นสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และ สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่นสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น-สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น4 กันยายน ณ สถานีวิจัยลำตะคอง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา พร้อมร่วมบรรยายเทคโนโลยีการทำเกษตรแม่นยำสูงเพื่อเพิ่มผลผลิต และลดการใช้แรงงานคนด้วยเครื่องจักรขับเคลื่อนอัตโนมัติ และจัดนิทรรศการแสดงผลงานด้านเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำสูงของคูโบต้า
          นายโอภาศ ธันวารชร กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด เผยว่า เพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันและนโยบายของรัฐบาลในการขับเคลื่อนภาคการเกษตรของไทยเข้าสู่เกษตร 4.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระตุ้นให้นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการทำเกษตรกรรม เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตนั้น สยามคูโบต้าในฐานะผู้นำตลาดเครื่องจักรกลการเกษตรได้มีการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้การทำเกษตรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผลดีต่อทั้งตัวเกษตรกรเองและภาคการเกษตรของประเทศไทยด้วย
          "สำหรับการเข้าร่วมงานในครั้งนี้ สยามคูโบต้าได้มีการนำนวัตกรรมที่น่าสนใจจากคูโบต้าประเทศญี่ปุ่นมาสาธิตการทำงาน ไม่ว่าจะเป็น แทรกเตอร์ ขนาด การประชุมเชิงปฏิบัติการ7สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย แรงม้า รุ่น M7-การประชุมเชิงปฏิบัติการ7การประชุมเชิงปฏิบัติการ ที่ติดตั้งระบบควบคุมทิศทางอัตโนมัติด้วย GPS (Auto Steer) ทำให้ทำงานได้ง่ายขึ้น โดยผู้ใช้งานจะบังคับเฉพาะเวลากลับตัวรถเท่านั้น ถือเป็นรุ่นที่ครบครันเรื่องเทคโนโลยีของญี่ปุ่น มีการทำงานที่เชื่อมต่อกันระหว่างแทรกเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงด้วย ISOBUS (มาตรฐานสากลของการสื่อสารระหว่างแทรกเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง) โดยผู้ใช้สามารถสั่งงานผ่านหน้าจอได้ทันที เช่น การหว่านปุ๋ย สามารถปรับปริมาณการใส่ปุ๋ยตามความต้องการเฉพาะจุดได้อย่างอัตโนมัติ การพ่นสารโดยกำหนดพื้นที่ทำงานให้ใช้ปริมาณสารอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด หรือการอัดฟางก้อนกลมที่สามารถควบคุมความเร็วของแทรกเตอร์ตามปริมาณฟางได้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีแทรกเตอร์ขนาด การประชุมเชิงปฏิบัติการ35 แรงม้า รุ่น Mการประชุมเชิงปฏิบัติการ35X ติดตั้งอุปกรณ์ปรับระดับพื้นดินด้วยเลเซอร์ เพื่อปรับระดับหน้าดินให้มีขนาดเท่ากันทั้งแปลง รวมถึง รถดำนานั่งขับ 6 แถว ที่มาพร้อมระบบควบคุมทิศทางตรงอัตโนมัติ นำทางด้วย GPS เช่นเดียวกับแทรกเตอร์รุ่น M7-การประชุมเชิงปฏิบัติการ7การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทำให้ควบคุมทิศทางได้ง่าย ช่วยลดปัญหาการปลูกข้าวไม่ตรงแนว แม้ผู้ใช้งานที่ไม่มีประสบการณ์ก็สามารถฝึกใช้งานได้ในระยะเวลาสั้น ๆ และยังช่วยลดความตึงเครียดระหว่างการทำงานลงได้อีกด้วย นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น เรายังมีการจัดแสดงข้อมูลและวิดีโอสาธิตการทำงานของเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด นั่นคือ แทรกเตอร์ไร้คนขับ ที่เป็นจักรกลอัจฉริยะ สามารถควบคุมให้ทำงานในแปลงได้โดยโดยไม่ต้องมีผู้ปฏิบัติงานควบคุมอยู่บนตัวรถ ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่ได้เริ่มมีการใช้แล้วในประเทศญี่ปุ่น" นายโอภาศ กล่าว

สยามคูโบต้า เน้นย้ำเทคโนโลยี การทำเกษตรแบบแม่นยำสูง โชว์นวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่น
สยามคูโบต้า เน้นย้ำเทคโนโลยี การทำเกษตรแบบแม่นยำสูง โชว์นวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่น
สยามคูโบต้า เน้นย้ำเทคโนโลยี การทำเกษตรแบบแม่นยำสูง โชว์นวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่น
สยามคูโบต้า เน้นย้ำเทคโนโลยี การทำเกษตรแบบแม่นยำสูง โชว์นวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรจากประเทศญี่ปุ่น
 

ข่าวสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย+การประชุมเชิงปฏิบัติการวันนี้

วว. โชว์ผลงานตามนโยบาย BCG "การปลูกเลี้ยงและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับภาคใต้" ในการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำกรอบยุทธศาสตร์กระทรวง อว.

ผศ.ดร.วีระชัย อาจหาญ ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย ดร.พงศธร ประภักรางกูล รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์และคณะนักวิจัย เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดกรอบประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พ.ศ. 2570-2579 ซึ่งได้รับเกียรติจาก นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว.

ดร.อาภากร สุปัญญา รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์แ... วว. จับมือ สสน. /สทนช. จัด Work shop พัฒนาผลผลิตเกษตรเพิ่มมูลค่าจากน้ำของชุมชน ครั้งที่ 3 — ดร.อาภากร สุปัญญา รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์และจัดการนวัตกรรม สถาบ...

นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระท... วว.รับมอบประกาศนียบัตรร่วมจัดแสดงผลงานในงานสิ่งประดิษฐ์ระดับนานาชาติเจนีวา ครั้งที่ 50 — นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาส...

ผศ.ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ว่าการ สถาบันวิจัย... วว.คว้ารางวัลชนะเลิศเหรียญทอง (Gold Medal) @ งานสิ่งประดิษฐ์ระดับนานาชาติเจนีวา ครั้งที่ 50 — ผศ.ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโน...

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน... สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช วว. ชวนร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศ — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกร...

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน... วว. พัฒนาสารเสริมสุขภาพสัตว์ปีกจากจิ้งหรีดทองดำ ช่วยลดปริมาณเชื้อก่อโรค/กระตุ้นการเจริญเติบโต — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย...

นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระท... วว. ร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เนื่องในงาน "สงกรานต์ อว." — นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน...

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน... วว. จัดอบรมฟรี ! เพื่อบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจ...

วว. คว้ารางวัลชนะเลิศนวัตกรรมการสื่อสารสร... วว. คว้ารางวัลชนะเลิศนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ Commu Max Competition — วว. คว้ารางวัลชนะเลิศนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ Commu Max Competition จากผลงาน...

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน... สถานีวิจัยลำตะคอง วว. บริการ จุดพักรถ…พักผ่อน เติมพลัง ช่วงเทศกาลสงกรานต์ "8 - 15 เมษายน 2568" — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)...