โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

          โรงพยาบาลพญาไท เวชศาสตร์ จัดกิจกรรม "เคล็ดลับ...สร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต" โดย นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ แพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลพญาไท เวชศาสตร์ เพื่อมุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างสิ้นเชิง หรือ Total Lifestyle Modification (TLM) ป้องกันและลดจำนวนผู้เสียชีวิตด้วย "โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง"ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ เบาหวาน ไตวายเรื้อรัง อัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งอยู่ในกลุ่มโรคที่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเสี่ยง คือ ไขมันในเลือดสูง ความดันสูง สูบบุหรี่ และ ดื่มสุรา เป็นต้น ที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงขึ้นทุกปี และมีรายงานสำรวจวิจัยที่ทำกับคนไข้อายุ 5สันต์ ใจยอดศิลป์ ปีขึ้นไป พบว่าคนไทย โรงพยาบาลพญาไท ใน 3 เป็นความดันโลหิตสูง และอีกครึ่งหนึ่งตรวจพบว่ามีไขมันในเลือดสูง
          "การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต ทั้งการทำงาน การออกกำลังกาย การนอน การรับประทานอาหาร รวมถึงการจัดการความเครียดอย่างเป็นระบบ เป็นการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดีที่สุด โดยเฉพาะเรื่องการเลือกรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุโรคร้ายโดยไม่รู้ตัว จากงานวิจัยในต่างประเทศหลายชิ้นยืนยันเหมือนกันว่ามีอาหาร 7ประเภทที่เป็นสาเหตุของโรคติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรงพยาบาลพญาไท.ไส้กรอก แฮม เวชศาสตร์.เนื้อสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม 3.น้ำตาล 4.ไขมันอิ่มตัว5.ธัญพืชขัดสี (แค่เปลี่ยนจากข้าวขาวเป็นข้าวกล้อง ก็ดีต่อสุขภาพมากแล้ว) 6.เกลือ 7.ไขมันทรานส์ ได้แก่ครีมเทียม เนยเทียม ขนมกรุบกรอบ ซึ่งถือเป็นสาเหตุที่ส่งผลร้ายในทางโภชนาการ ในอเมริกาถือเป็นอาหารผิดกฎหมาย แต่ในเมืองไทยยังอนุญาตให้ใช้อยู่
          นพ.สันต์ ยังกล่าวต่อว่า ความดันโลหิต คือดัชนีชี้วัดสุขภาพที่แม่นยำที่สุด สำหรับคนที่มีความดันโลหิต ควรหันมา "เลือกรับประทาน"จะช่วยป้องกันดีที่สุด อาหารลดความดัน ได้แก่ เมล็ดธัญพืชจากธรรมชาติ (Flaxseed) รับประทานวันละ เวชศาสตร์ ช้อนโต๊ะ บีทรูท ขึ้นช่าย กระเทียม ถั่ว ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ส่วนอาหารต้านมะเร็ง เป็นจำพวก หอม กระเทียม บล็อกโครี่ กะหล่ำปลี คะน้า ถั่ว 3 อย่าง และขมิ้นชัน แนะนำให้รับประทานทุกวันวันละ เวชศาสตร์ ท่อนเล็ก โดยสรุปแล้วแนะนำให้รับประทานมังสวิรัติเพราะ ไม่ต้องกังวลเรื่องการขาดโปรตีน เนื่องจากยังไม่มีรายงานทางการแพทย์ที่ระบุชัดว่าการขาดโปรตีนมีผลต่อคนที่เลยวัยเจริญเติบโตแล้ว ดังนั้นโปรตีนจากผักและผลไม้ถือว่าเพียงพอแล้ว           
          สำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันที่จะช่วยทำให้สุขภาพดีขึ้น ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถทำได้ง่ายๆ เริ่มจาก การปรุงอาหารแบบแคลอรี่ต่ำ (Low Calorie Cooking Style) ได้แก่ การทอดด้วยลมร้อน (Air-Fryer)โดยใช้เครื่องทอดด้วยลมร้อนแทนการทอด ผัดแบบไม่ใช้น้ำมัน ผัดโดยใช้น้ำแทนน้ำมัน เน้นการใช้ผัก ธัญพืชทั้งเมล็ด และถั่วต่างๆ การอบถั่วและนัท (Baking nut) ไว้เป็นอาหารว่างรับประทานกับกาแฟ น้ำปั่นไม่ทิ้งกาก เป็นเครื่องดื่มซอฟท์ดริ๊งค์ เพราะส่วนที่มีคุณค่าที่สุดของผลไม้คือเมล็ดและผิวเปลือก และควรมีครบทุกรสชาติ ทั้ง เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม เผ็ด ฝาด และ ขม จากหลักฐานวิทยาศาสตร์ พบว่า สารในพืชที่ลดอุบัติการณ์ของมะเร็งและโรคหลอดเลือดนั้นล้วนมีรสขม ฉุน และฝาดทั้งสิ้น
การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Strength Training) หรือ การเล่นกล้าม คือ การออกกำลังกายที่มุ่งเพิ่มมวลกล้ามเนื้อและเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกลุ่มต่างๆ ของร่างกาย โดยวิธีให้กล้ามเนื้อได้ออกแรงไปทีละกลุ่มด้วยท่าออกกำลังกายแบบต่างๆ ซึ่งแต่ละท่าใช้ฝึกกล้ามเนื้อแต่ละกลุ่ม แต่ละท่าจะใช้วิธีทำซ้ำๆ หลายๆ ครั้ง โดยอาจมีหรือไม่มีอุปกรณ์ช่วยต่าง ๆ เช่น สปริงยืด ดัมเบล ซึ่งแตกต่างจากการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic excercise) ที่มุ่งให้กล้ามเนื้อทั่วร่างกายได้ออกแรงพร้อมๆ กันแบบต่อเนื่องกันไปเพื่อเพิ่มสมรรถนะของระบบหัวใจหลอดเลือด เช่น การวิ่งจ๊อกกิ้ง การเดินเร็ว ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน หรือการเล่นกีฬาต่าง ๆ เป็นต้น ส่วนผู้สูงอายุ มีงานวิจัยพบว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ดีที่สุดคือการเดินเร็ว (brisk walking)
          การสร้างและธำรงรักษาแรงบันดาลใจ (Self motivation )
          ขั้นตอนติดตาม เป็นระยะหลังจากที่ทุกคนมีทักษะที่จะดูแลตนเองได้แล้ว และกลับไปใช้ชีวิตปกติที่บ้านแล้ว เป็นการติดตามกระตุ้นไม่ให้หมดแรงกลางคัน ผ่านกลไกการสื่อสารกันทางโทรศัพท์ อีเมลทุกเดือน โดยมีแพทย์ประจำตัวและพยาบาลประจำตัวเป็นศูนย์กลาง มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นกลไกเสริม มีระบบฐานข้อมูลติดตามตัวชี้วัดรายบุคคล โดยขั้นตอนนี้จะทำไปอย่างต่อเนื่องตลอดไป แม้จะครบกำหนด
          ด้านผู้ที่เข้าร่วมงานเวิร์คช้อป คุณวาสนา ข้าวบัว วัย 58 ปี กล่าวว่า ตนเป็นผู้ป่วยโรคไต จึงทำให้ต้องดูแลตัวเองเป็นอย่างดีมาตลอดอยู่แล้ว คุณหมอของโรงพยาบาลที่รักษาอยู่เขาห้ามคนโรคไตไม่ให้รับประทานข้าวกล้อง พอลองหาข้อมูลเพิ่มเติมเรื่อยๆ จนวันนี้คุณหมอสันต์บอกว่า จากผลงานวิจัยยืนยันแล้วว่า ข้าวกล้องดีกับทุกคนจริงๆค่ะ แม้คนป่วยโรคไตก็สามารถรับประทานได้ ก็เลยคิดว่าจะรับประทานข้าวกล้องต่อไปแบบสบายใจได้แล้วค่ะ" 
          ส่วน คุณนิดา ปราชญ์วิทยา ผู้เข้าร่วมเวิร์คช็อปอีกท่านเป็นผู้รักการดื่มนม เธอได้วิธีเลือกซื้อนมที่ถูกต้องกลับไป "เราเป็นคนชอบดื่มนมรสจืดอยู่แล้ว เพื่อบำรุงแคลเซียม วันนี้ก็ได้ข้อมูลที่ละเอียดขึ้นจากคุณหมอ คือให้สังเกตป้ายข้างขวด คำว่า Low Fat ถือว่ายังมีไขมัน ที่ดีที่สุดจะต้องเลือกแบบไขมันสันต์ ใจยอดศิลป์%"
โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
 
โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ข่าวสันต์ ใจยอดศิลป์+โรงพยาบาลพญาไท2วันนี้

โรงพยาบาลพญาไท2 แนะสร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต (Total Lifestyle Modification หรือ TLM) ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

โรงพยาบาลพญาไท 2 จัดกิจกรรม "เคล็ดลับ...สร้างสุขภาพดีด้วยการปรับวิถีชีวิต" โดย นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ แพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลพญาไท 2 เพื่อมุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างสิ้นเชิง หรือ Total Lifestyle Modification (TLM) ป้องกันและลดจำนวนผู้เสียชีวิตด้วย "โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง"ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ เบาหวาน ไตวายเรื้อรัง อัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งอยู่ในกลุ่มโรคที่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเสี่ยง คือ ไขมันในเลือดสูง ความดันสูง สูบบุหรี่ และ ดื่มสุรา เป็นต้น

ทีวีไกด์: รายการ "เจาะใจ" เปิดใจ “หมอสันต์” หมอรักษาโรคหัวใจเป็นโรคหัวใจซะเอง ลาออกทิ้งมีดหมอปฏิวัติพฤติกรรมตัวเองจนหาย

รายการเจาะใจ เมื่อหัวใจยังเต้น วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคมนี้ ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ ในยุคที่มีตัวยานำเข้า มีเครื่องมือแพทย์ทันสมัย แต่กลับมีอัตราการป่วยมากขึ้น เราจะทำอย่างไร...

ทีวีไกด์: รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” รวมว่าที่คุณหมอ ALL STAR สวย หล่อ เก่ง ครบสูตร!! กับโรคปริศนาที่คุณคาดไม่ถึง!!

รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 16 ตุลาคมนี้ กำลังสนุกลุ้นไปกับโรคปริศนาและเป็นนักสืบ สืบค้น วิเคราะห์อาการของคนไข้ ไปพร้อมเหล่านักศึกษาแพทย์...

ทีวีไกด์: รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” อาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม "หญิงอายุ 64 ล้มแล้วกระดูกหัก ลุกไม่ขึ้น อาการของโรคร้ายแรงอะไร"

รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคมนี้ สองพิธีกร ดู๋-สัญญา คุณากร และ นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ ชวนคุณมาร่วมเป็นนักสืบ สืบค้น วิเคราะห์อาการของคนไข้ ...

ทีวีไกด์: รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” เด็กชาย 8 ขวบ ขี่จักรยานล้ม จะเป็นโรคอะไร ต้องติดตาม

เจอโจทย์ยาก หลงทางจากข้อมูลที่ได้ มาเอาใจช่วย 3 หนุ่มว่าที่คุณหมอ ทีม ICU ใน “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายนนี้ สองพิธีกร ดู๋-สัญญา คุณากร...

ทีวีไกด์: รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” เมื่อต้องเผชิญเหตุฉุกเฉิน!! ทำเอา 3 นศ.แพทย์ และ ดู๋-สัญญา อึ้งปนเครียด

รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายนนี้ สองพิธีกร ดู๋-สัญญา คุณากร และ นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ ที่จะชวนคุณมาร่วมเป็นนักสืบ สืบค้น วิเคราะห์อาการของคนไข้ เข้า...

ทีวีไกด์: รายการ "The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ" ลุ้น “ทีม The Lesion” เมื่อคนไข้สับสน พูดไม่รู้เรื่อง สูบบุหรี่จัด พาไปสู่โรคร้ายอะไร

รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายนนี้ พบกับการสืบค้น วิเคราะห์อาการของคนไข้ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการทำงานของแพทย์ในการวินิจฉัยอาการป่วย และ...

ทีวีไกด์: รายการ "The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ" 3 หนุ่ม วินิจฉัยโรคปริศนา ปวดเมื่อยตามตัว นำไปสู่โรคอะไร

รายการ “The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ” วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายนนี้ พบกับการสืบค้น วิเคราะห์อาการของคนไข้ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการทำงานของแพทย์ในการวินิจฉัยอาการป่วย และให้ความร่วมมือบอกเล่าอาการได้ละ...