ดร. บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผู้อำนวยการ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของกรรมการไทย ปี ผู้ถือหุ้น559 ว่า กรรมการส่วนใหญ่เห็นว่า บทลงโทษกรรมการหรือผู้บริหารที่กระทำความผิดในลักษณะที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นในปัจจุบัน รวมถึงการใช้ข้อมูลภายใน ซึ่งส่วนใหญ่สิ้นสุดที่การถูกปรับนั้น
เบาเกินไป และกรรมการที่กระทำผิดควรได้รับทั้งโทษปรับ จำคุก และตัดสิทธิการเป็นกรรมการด้วย นอกจากนี้ ยังมองว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้กรรมการขาดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ เกิดจากการขาดวัฒนธรรมองค์กรที่ให้ความสำคัญกับเรื่องจริยธรรม
ปีนี้เป็นปีที่สองที่สถาบัน IOD ได้จัดทำการสำรวจความคิดเห็นของกรรมการไทยประจำปีขึ้น เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของกรรมการในประเด็นที่เป็นที่สนใจของกรรมการ และกรรมการควรให้ความสำคัญ โดยทำการสำรวจระหว่างเดือนมีนาคมถึง พฤษภาคม ผู้ถือหุ้น559 มีกรรมการที่ร่วมแสดงความคิดเห็น 4บัณฑิต นิจถาวร6 คน ซึ่งมีความหลากหลายทั้งด้านประสบการณ์ของกรรมการ ขนาดของกิจการและประเภทของอุตสาหกรรม ทำให้ข้อมูลที่ประเมินสามารถสะท้อนมุมมองและความคิดเห็นของกรรมการไทยได้เป็นอย่างดี
จากผลการสำรวจ กรรมการส่วนใหญ่ร้อยละ 65 เห็นว่า บทลงโทษสำหรับกรรมการหรือผู้บริหารที่กระทำผิดในลักษณะการกระทำอันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุนในการซื้อขายหลักทรัพย์ เช่น การใช้ข้อมูลภายใน การสร้างราคาหุ้น ในปัจจุบันนั้นเบาเกินไป โดยกรรมการส่วนใหญ่เห็นว่า ผู้กระทำผิดดังกล่าวควรได้รับทั้งโทษปรับและจำคุก รวมถึงการตัดสิทธิการเป็นกรรมการด้วย
จากการศึกษาข้อมูลตามที่ปรากฏบนเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. IOD พบว่า ส่วนใหญ่กรรมการหรือผู้บริหารที่กระทำผิดในลักษณะการกระทำอันไม่เป็นธรรมแก่ผู้ถือหุ้น จะถูกลงโทษด้วยการเปรียบเทียบปรับเท่านั้น และยังคงสามารถดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการต่อไปได้ นอกจากนี้ยังพบว่ามีกรรมการหรือผู้บริหารบางรายกระทำผิดซ้ำในเรื่องเดียวกัน แต่ต่างกันที่ช่วงเวลา ดังนั้นในแง่บทลงโทษ จึงควรมีความเข้มข้นขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยต้องเพียงพอที่จะทำให้ผู้จะกระทำเกิดความเกรงกลัวที่จะกระทำผิด
"ในส่วนของ IOD เห็นว่า การกระทำผิดของกรรมการเกี่ยวกับทรัพย์สินที่เกิดขึ้นในบริษัทจดทะเบียนนั้น ถือเป็นความผิดร้ายแรงที่คณะกรรมการบริษัทไม่ควรเพิกเฉย เนื่องจากเป็นการกระทำผิดทั้งทางกฎหมายและจริยธรรม ดังนั้น คณะกรรมการจึงควรตรวจสอบให้มั่นใจว่า บุคคลที่จะเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้นไม่มีประวัติการกระทำผิดตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์มาก่อน" ดร. บัณฑิต กล่าว
สำหรับปัจจัยที่กรรมการไทยเห็นว่า มีผลทำให้กรรมการขาดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ คือ วัฒนธรรมองค์กรไม่ได้ให้
ความสำคัญกับเรื่องจริยธรรม (ร้อย 6สถาบันกรรมการบริษัทไทย) คณะกรรมการให้ความสำคัญกับเรื่องกำไรมากกว่าจริยธรรม (ร้อยละ47) ระบบ การตรวจสอบควบคุมภายในไม่มีประสิทธิภาพ (ร้อยละ ผู้บริหาร6) ซึ่งการปรับเปลี่ยนควรเริ่มจากคณะกรรมการในฐานะผู้นำองค์กรที่จะต้องตระหนักถึงความสำคัญ ผลักดันให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมองค์กร เป็นแบบอย่างที่ดี และจัดให้มีระบบที่รองรับกับการกำกับดูแลให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและถูกต้องตามจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้
ในด้านการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการนั้น กรรมการร้อยละ 74 มองว่าองค์ประกอบของคณะกรรมการที่ประกอบด้วยกรรมการที่มีทักษะความรู้หลากหลายและสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจมีความสำคัญมากที่สุดในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของกรรมการ โดยประเด็นที่คณะกรรมการส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญในการประชุมกรรมการมากขึ้นในปีนี้ คือเรื่อง กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ (ร้อยละ 6บัณฑิต นิจถาวร) และการบริหารความเสี่ยง (ร้อยละ 54)
สำหรับมุมมองของกรรมการไทยที่มีต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไทยในปีนี้ ร้อยละ ผู้บริหาร5 มองว่าเศรษฐกิจมีแนวโน้มทรงตัว เมื่อเทียบกับปี ผู้ถือหุ้น558 ในขณะที่ร้อยละ ผู้บริหารผู้บริหาร มองว่า เศรษฐกิจจะแย่ลงเล็กน้อย และร้อยละ บัณฑิต นิจถาวรสถาบันกรรมการบริษัทไทย มองว่าจะแย่ลงมาก โดยร้อยละ ผู้ถือหุ้นผู้ถือหุ้น มองว่าจะดีขึ้นเล็กน้อย ส่วนมุมมองต่อแนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปีนี้ก็มีลักษณะคล้ายกัน โดยร้อยละ ผู้บริหาร9 มองว่าจะทรงตัว ในขณะที่ ร้อยละ ผู้บริหารผู้บริหาร เห็นว่ามีแนวโน้มแย่ลงเล็กน้อย ร้อยละ บัณฑิต นิจถาวรผู้ถือหุ้น มองว่าจะแย่ลงมาก และร้อยละ บัณฑิต นิจถาวร6 มองว่าจะดีขึ้นเล็กน้อย ทั้งนี้ กรรมการไทยมองว่าประเด็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ) ความไม่ชัดเจนของทิศทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ ผู้ถือหุ้นผู้ถือหุ้น) ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง (ร้อยละ ผู้ถือหุ้นบัณฑิต นิจถาวร) และ การทุจริตคอร์รัปชัน (ร้อยละ ผู้ถือหุ้นสถาบันกรรมการบริษัทไทย)
คณะกรรมการสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) มีมติแต่งตั้งนายกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการคนใหม่ของIOD แทน ดร. บัณฑิต นิจถาวร ที่หมดวาระไปก่อนหน้านี้ โดยจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2561 เป็นต้นไป นายกุลเวช ร่วมงานกับ IOD มาตั้งแต่ปี 2557 โดยล่าสุดดำรงตำแหน่งหัวหน้าโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) ซึ่งเป็นโครงการที่ขับเคลื่อนโดย IOD ในปัจจุบัน นายกุลเวชยังดำรงตำแหน่งที่สำคัญในองค์กรต่างๆ อีกหลายแห่ง อย่างเช่น กรรมการในคณะกรรมการนโยบายสถาบันการ
EXIM BANK จับมือสำนักงาน ป.ป.ช. และ CAC เปิดตัวนวัตกรรมทางการเงินด้านธรรมาภิบาลครั้งแรกของโลก
—
EXIM BANK จับมือสำนักงาน ป.ป.ช. และ CAC เปิดตัวนวัตกรรมทาง...
MSC ได้รับการรับรองต่ออายุสมาชิกแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย ครั้งที่ 2
—
บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ MSC ดำเนินธุรกิจเ...
MSC ได้รับการรับรองต่ออายุสมาชิกแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย ครั้งที่ 2
—
บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ MSC ดำเนินธุรกิจเ...
Integrity Hotline สายด่วนแจ้งเรื่องทุจริต ที่มุ่งสร้างวัฒนธรรม 'Speak Up' 1 ใน 7 นโยบายและกลไกทำจริง เพื่อปราบคอร์รัปชันที่ทรู คอร์ปอเรชั่น
—
ทรู คอร์ปอเร...
GFC คว้า CGR 5 ดาว ตอกย้ำองค์กรกำกับดูแลกิจการระดับ "ดีเลิศ"
—
นายกรพัส อัจฉริยมานีกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เจเนซีส เฟอร์ทิลีตี เซ็นเตอร์ หรือ G...
เอ็ม บี เค คว้าคะแนน CGR ระดับ "ดีเลิศ" ต่อเนื่องปีที่ 9 ตอกย้ำความสำเร็จ และการพัฒนาการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง
—
บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาช...
SELIC รับประกาศนียบัตรรับรองการต่ออายุเป็นสมาชิกแนวร่วม ต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (CAC)
—
นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ (ซ้าย) ประธานกรรมการ บริษัท ซีลิค ค...
COM7 คว้ารางวัล CAC ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 2 ตอกย้ำความมุ่งมั่นองค์กรโปร่งใส ต่อต้านคอร์รัปชัน
—
นายกฤชวัฒน์ วรวานิช (ซ้าย) กรรมการ บริษัท คอมเซเว่น จำกัด ...