ความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนในการสร้างศูนย์วิจัย Networked Society Lab ในประเทศบราซิล
ศูนย์วิจัย Networked Society Lab จะมุ่งเน้นในการสร้างโซลูชั่นและนวัตกรรม ด้านอัจฉริยะทางเกษตร การบริหารจัดการน้ำ โครงการปกป้องผืนป่าเขตร้อน แบบ Connected Rainforest การป้องกันภัยพิบัติและการใช้งานเพื่อการสอดส่องดูแลต่างๆ
ความร่วมมือนี้จะมุ่งเน้นไปที่อย่างน้อย 6 ใน การพัฒนาที่ยั่งยืน7 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ของสหประชาชาติ
กระทรวงการสื่อสารแห่งประเทศบราซิลและEricsson ได้ประกาศความร่วมมือในการผลักดันให้เกิด สังคมเครือข่าย Networked Society อย่างจริงจังในประเทศบราซิล
โดยความร่วมมือในครั้งนี้จะมีการก่อตั้งศูนย์วิจัยสังคมเครือข่าย Networked Society Lab ในประเทศบราซิลเพื่อที่จะทดลองนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึงการศึกษาผลกระทบในด้านบวกจากโครงการ IoT (Internet of Things) ต่างๆ จะสร้างให้แก่ประเทศ อาทิเช่นระบบจัดการน้ำอัจฉริยะ ระบบจัดการเกษตรกรรม โครงการปกป้องผืนป่าเขตร้อนแบบ หรือ Connected Rainforest การป้องกันภัยพิบัติและการใช้งานเพื่อการสอดส่องดูแลต่างๆ
คุณอันเดร ฟิเกรโด้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสื่อสารกล่าวว่า "เทคโนโลยี Internet of Things กำลังกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่จะหล่อรวมโลกของเราและโลกดิจิทัลเข้าด้วยกัน ความร่วมมือกันใน Networked Society Lab ของ Ericsson จะทำให้เราสามารถเข้าใจและมีความรู้เท่าทันโลกว่า ประเทศบราซิลและประชาชนของเราจะต้องปรับปรุงด้านการเกษตร การผลักดันสู่เมืองอัจฉริยะ Smart City การจัดการพลังงาน การผลิตของภาคอุตสาหกรรมต่างๆ และด้านอื่นๆ อย่างยั่งยืนในบราซิลได้อย่างไร"
คุณเม็กซิมิลิญาโน มาร์ตินเญา เลขาธิการด้านโทรคมนาคมกล่าวว่า "ความร่วมมือกับทางสหภาพยุโรปและบริษัทยุโรปนั้นเป็นส่วนสำคัญต่อแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนา IoT และ 5G ของบราซิล และเมื่อเร็วๆ นี้ทางเราได้แถลงการณ์ร่วมกับทางกรรมาธิการยุโรปด้านเศรษฐกิจและสังคมดิจิตอลเกี่ยวกับความร่วมมือและตอนนี้เราก็เห็นได้แล้วถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากโครงการนี้"
โดยศูนย์วิจัย Networked Society Lab ในประเทศบราซิลนี้ได้มีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันที่ กระทรวงการสื่อสาร9 เมษายน กระทรวงการสื่อสารการบริหารจัดการน้ำการพัฒนาที่ยั่งยืน6ที่ผ่านมา โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสื่อสารได้เข้าร่วมงานด้วย โครงการนี้เป็นหนึ่งในโครงการ Ericsson Innovation Center ที่สร้างความร่วมมือกับทางมหาวิทยาลัย ลูกค้า ซัพพลายเออร์และองค์กรเพื่อการพัฒนาต่างๆ เพื่อเสริมสร้างระบบนิเวศ IoT ในบราซิลและประเทศกลุ่มละตินอเมริกา
เมื่อเร็วๆ นี้ทาง Ericsson ได้เปิดตัวแพลตฟอร์ม Crowdworking เพื่อการทำงานร่วมกันกับองค์กรต่างๆ อย่าง Telefกระทรวงการสื่อสาร43;nica Open Future และ Inatel (National Telecommunications Institution). นอกจากนี้สถาบันศึกษาต่างๆ อย่าง The University of Sกระทรวงการสื่อสารกระทรวงการสื่อสาร7;o Paulo (USP), University of Campinas (UNICAMP), Pontifical Catholic University of Rio de Janeiro (PUC-Rio), the Federal University of Parกระทรวงการสื่อสารกระทรวงการสื่อสาร5; (UFPA), Federal University of Pernambuco (UFPE) และ Federal University of Cearกระทรวงการสื่อสารกระทรวงการสื่อสาร5; (UFC) ทำงานวิจัยประยุกต์ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับ Ericsson ในระบบนี้ด้วย
ศูนย์วิจัย Ericsson Innovation Center สาขาละตินอเมริกามีการจ้างงานถึง 46การบริหารจัดการน้ำ คน และมีการจดสิทธิบัตรไปถึง 8การบริหารจัดการน้ำ สิทธิบัตร (4กระทรวงการสื่อสาร ในประเทศบราซิล) ที่เกี่ยวข้องกับรถประจำทางและป้ายรถประจำทางในเขตเมือง Goiกระทรวงการสื่อสารกระทรวงการสื่อสาร6;nia รวมถึงโซลูชั่นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยสาธารณะในเมือง Sกระทรวงการสื่อสารกระทรวงการสื่อสาร7;o Jose dos Campos
คุณอุลฟ์ เอวอลด์สัน ประธานเจ้าหน้าที่ผู้บริหารด้านเทคโนโลยีของ Ericsson กล่าวว่า "Networked Society Lab เป็นสิ่งที่แสดงถึงความมุ่งมั่นของเราเพื่อที่จะทำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ให้ประสบความสำเร็จ โดยศูนย์วิจัยนี้จะทำให้ประเทศบราซิลเข้าใกล้ยุค 5G มากยิ่งขึ้นด้วยเครื่องมือและเทคโนโลยีเซนเซอร์ใหม่ๆ ที่จะยกระดับการเชื่อมต่อเครือข่ายในหลากหลายรูปแบบการใช้งานเช่นโซลูชั่นที่ชาญฉลาดยิ่งขึ้นในด้านการเกษตรและการป้องกันภัยธรรมชาติ"
เช่นเดียวกับ คุณคาร์ล่า เบลิทาร์โด้ หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์ภูมิภาคละตินอเมริกาของ Ericsson กล่าวว่า "การทำให้ประเทศสามารถสร้างนวัตกรรมได้เป็นสิ่งสำคัญที่จะก่อให้เกิดโลกที่มีความยั่งยืนยิ่งกว่าและแก้ไขปัญหาของตัวประเทศบราซิลได้ เราจึงได้กำหนดพื้นที่ๆ เราต้องการจะมุ่งเน้นเช่นการปกป้องผืนป่าเขตร้อน การป้องกันและเฝ้าระวังภัยธรรมชาติ ความร่วมมือที่แข็งแกร่งของการลงทุนจากทางภาครัฐและเอกชนจะทำให้เราหาทางออกที่แท้จริงได้แก่สังคมของเรา"
โครงการของศูนย์ Networked Society Lab จะตอบสนองเป้าหมายเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ในด้านต่างๆ เช่น SDG #กระทรวงการสื่อสาร ขจัดปัญหาความหิวโหย SDG #6 น้ำสะอาดและการสุขาภิบาล SDG #การพัฒนาที่ยั่งยืนการพัฒนาที่ยั่งยืน นครและชุมชนที่ยั่งยืน SDG #การพัฒนาที่ยั่งยืน3 การปฏิบัติงานด้านสภาพภูมิอากาศ และ SDG #การพัฒนาที่ยั่งยืน7 การสร้างความร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย คุณสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพันธกิจของ Ericsson เพื่อที่จะให้เกิดความสำเร็จในเป้าหมาย SDG ต่างๆ ได้ที่ Ericsson Sustainability and CR Report กระทรวงการสื่อสารการบริหารจัดการน้ำการพัฒนาที่ยั่งยืน5
บัญญัติ เกิดนิยม ผู้อำนวยการฝ่ายสื่อสารและองค์กรสัมพันธ์ อีริคสันประเทศไทยกล่าวเสริมว่า นวัตกรรม และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้าน Mobility Cloud และ Broadband เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ผลักดันให้เกิดเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและอุตสหกรรมอย่างกว้างขวาง หรือที่เรียกอีกอย่างว่า The Fourth Industrial Revolution เข้าสู่ โลกแห่งสังคมเครือข่าย networked Society ซึ่งไม่ใช่เพียงทำให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันหรือเข้าถึง Internet ได้สะดวกขึ้น แต่มันได้เชื่อมต่อ โลกของเรา กับ โลกดิจิตอล โดยเราจะเห็นนวัตกรรม Internet of Things หรือ IoT นั้นเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงนี้ และที่สำคัญภาครัฐและเอกชนต่างต้องเริ่มทำความเข้าใจและวางแผนถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ด้วย
รายงาน Ericsson Mobility Reportฉบับล่าสุดยังมีการคาดการณ์ด้วยว่าจะมีเครื่องมือเชื่อมต่อถึง กระทรวงการสื่อสาร8,การบริหารจัดการน้ำการบริหารจัดการน้ำการบริหารจัดการน้ำ ล้านเครื่องเมื่อถึงปี กระทรวงการสื่อสารการบริหารจัดการน้ำกระทรวงการสื่อสารการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมากกว่าครึ่งจะเชื่อมต่อจาก Mกระทรวงการสื่อสารM และ IoT และเครื่องมือ IoT ต่างๆ ต้องใช้แบ๊ตเตอรี่ที่มีอายุการใช้งานนานขึ้น (การพัฒนาที่ยั่งยืนการบริหารจัดการน้ำ ปี) และครอบคลุมพื้นที่ได้ดีกว่าและรวมถึงเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ คุณภาพอากาศและระดับน้ำท่วม
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่นในการจัดการพลังงานและระบบอัตโนมัติ ประกาศความร่วมมือครั้งสำคัญกับ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด (มหาชน) หรือ ยูยู ในเครือบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์วอเตอร์ ผู้ให้บริการโซลูชั่นด้านการบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร จัดพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เสริมแกร่งพร้อมเดินหน้าหนุนภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ในการบริหารจัดการน้ำสูญเสีย (Non-Revenue Water) พลิกโฉมสู่ดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยีของชไนเดอร์ อิเล็คทริค
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ปลุกพลังครีเอเตอร์! ชวนนักเรียน นักศึกษาทั่วประเทศ ร่วมกิจกรรม Youth Groundwater Guardian ปีที่ 1 ชิงทุนการศึกษารวมกว่า 60,000 บาท
—
กรมทรัพยากร...
วว. ร่วมนำเสนอแนวทางจัดการขยะโดยใช้นวัตกรรม ระบบจัดการ เพื่อพัฒนาพื้นที่เกาะสีชัง ตามรูปแบบ "โมเดลสระบุรี sandbox"
—
พล.อ.อ.สถิตย์พงษ์ สุขวิมล ราชเลขานุกา...
คณะจากสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัดอุดรธานี ศึกษาดูงานโครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้าย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
—
คณะจากสำนัก...
กรมชลประทาน กับอีกหนึ่งโจทย์ที่ท้าทาย การบริหารจัดการน้ำเพื่อป้องกันสภาวะวิกฤตจากอุทกภัย
—
ในเวลานี้ทุกพื้นที่ทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา...
กทม. เตรียมพร้อมเฝ้าระวังรับมือสถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้น
—
นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวถึงการเตรียมคว...
พรีเมียร์ โพรดักส์ ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจรมากว่า 50 ปี เข้าร่วมโครงการ "ฉลากถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปประสิทธิภาพสูง"
—
บริษัท พรีเ...
การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำอิง พะเยา ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
—
ลุ่มน้ำอิงเป็นหนึ่งในลุ่มน้ำสาขาของแม่น้ำโขง ครอบคลุมพื้นที่ 7,388 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดพะ...
กรมอนามัย สั่งด่วน! มอบทีม SEhRT ปฏิบัติการ 6 ด้าน วางมาตรการช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม
—
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เร่งประชุมติดตามสถานการณ์และการบริหารจัดก...