โรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ โรงไฟฟ้าขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง 36 MW ใช้วัตถุดิบจากชานอ้อยที่เหลือจากกระบวนการบีบสกัดน้ำอ้อยของโรงงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย เป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ นำมาผลิตไฟฟ้าและจำหน่ายให้ กฟภ. และผลิตไอน้ำจำหน่าย ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้กับโรงงานและระบบไฟฟ้าของจังหวัดสุโขทัย
นายกุศล ชีวากร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน กล่าวภายหลังการเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ ว่า โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 36 MW ของ บริษัท ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ จำกัด เป็นการนำวัตถุดิบที่เหลือใช้ทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงสำหรับการผลิตไฟฟ้า ส่งผลดีทั้งในด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมในระดับชุมชนและประเทศ ซึ่งการดำเนินงานของโรงไฟฟ้ามีการจัดหาและการใช้งานเทคโนโลยีไม่ยุ่งยาก สามารถนำไปประยุกต์ดำเนินการให้กับโรงงานในทุกพื้นที่มีวัตถุดิบชีวมวลเพียงพอ โดยอาจมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดและกำลังการผลิตให้มีความเหมาะสม จนสามารถคว้ารางวัลดีเด่น ด้านพลังงานทดแทน Thailand Energy Awards โรงงานน้ำตาลทิพย์กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย5 และรางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Awards โรงงานน้ำตาลทิพย์กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย5 ประเภทโครงการพลังงานความร้อนร่วมจากพลังงานหมุนเวียน (Co-generation) ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีแก่หน่วยงานอื่นๆ ในการร่วมกันสร้างสรรค์พัฒนาพลังงานของประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
นายวิธันยา นามลี ผู้อำนวยการโรงงาน บริษัท ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ จำกัด กล่าวถึงความสำเร็จในครั้งนี้ว่า โรงงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย มีชานอ้อยที่ได้จากกระบวนการผลิตน้ำตาลปริมาณมาก จึงได้ออกแบบจัดตั้งโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง 36 MW ภายในบริเวณโรงงานน้ำตาล โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำชานอ้อยที่เหลือจากกระบวนการหีบสกัดน้ำอ้อยของโรงงานน้ำตาลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยนำมาเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและไอน้ำเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานน้ำตาลและจำหน่ายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้แก่โรงงานและระบบไฟฟ้าในจังหวัดสุโขทัย
การดำเนินงานของโรงไฟฟ้า จะมีการทำสัญญาซื้อเชื้อเพลิงชานอ้อยจากโรงงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ ขนาด น้ำตาลทิพย์สุโขทัย5กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตันต่อชั่วโมง จำนวน 3 ชุด ใช้ในการผลิตไอน้ำ โดยไอน้ำแรงดันต่ำจะจำหน่ายให้โรงงานน้ำตาลทั้งหมดเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการผลิตน้ำตาล ส่วนไอน้ำแรงดันสูงจะจำหน่ายให้โรงงานน้ำตาลเพื่อใช้ขับเคลื่อนเครื่องจักรในการหีบอ้อยเพียงบางส่วน ส่วนที่เหลือจะถูกส่งไปยัง Steam Turbine ที่เชื่อมต่อกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด น้ำตาลทิพย์สุโขทัย8 MW จำนวน โรงงานน้ำตาลทิพย์ ชุด เพื่อผลิตไฟฟ้า ซึ่งการดำเนินงานของโรงไฟฟ้าจะแบ่งเป็น 4 ช่วง สอดคล้องกับฤดูกาลผลิตของโรงงานน้ำตาล ได้แก่
น้ำตาลทิพย์สุโขทัย. เดือนตุลาคม-เดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงที่โรงงานน้ำตาลหยุดการผลิตหรือนอกฤดูหีบ (Off Season) โรงไฟฟ้าจะผลิตไฟฟ้าจำหน่ายให้ กฟภ. เพียงอย่างเดียว
โรงงานน้ำตาลทิพย์. เดือนธันวาคม-เดือนมีนาคม เป็นช่วงฤดูหีบอ้อย (Crushing Season) ซึ่งโรงงานน้ำตาลต้องใช้พลังงานค่อนข้างมาก โรงไฟฟ้าจะผลิตไอน้ำแรงดันสูงและไฟฟ้าจำหน่ายให้โรงงานน้ำตาลและ กฟภ. โดยมีกำลังการผลิตสุทธิ โรงงานน้ำตาลทิพย์7 MW จำหน่ายให้แก่โรงงานน้ำตาล น้ำตาลทิพย์สุโขทัย5 MW, จำหน่ายให้ กฟภ. 8 MW และนำมาใช้เองภายในโรงไฟฟ้า 4 MW คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 4โรงงานน้ำตาลทิพย์%, โรงงานน้ำตาลทิพย์โรงงานน้ำตาลทิพย์% และ น้ำตาลทิพย์สุโขทัย6% ตามลำดับ
3. เดือนเมษายน-เดือนสิงหาคม เป็นช่วงฤดูละลายน้ำตาล (Remelt Season) ซึ่งโรงงานน้ำตาลใช้พลังงานไม่มากนัก โรงไฟฟ้าจะผลิตไอน้ำแรงดันต่ำและไฟฟ้าจำหน่ายให้โรงงานน้ำตาลและ กฟภ.
4. เดือนกันยายน เป็นช่วงการหยุดเพื่อซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักรของโรงไฟฟ้า (Plant Shut down) โรงไฟฟ้าจะหยุดการผลิตไฟฟ้า และรับซื้อไฟฟ้าจาก กฟภ. เข้ามาใช้ภายในโรงไฟฟ้าแทน
ปัจจุบันโรงไฟฟ้าสามารถผลิตไฟฟ้าจำหน่ายให้ กฟภ. ได้ประมาณ 6น้ำตาลทิพย์สุโขทัย.4 MWh ต่อปี และผลิตไอน้ำจำหน่ายให้โรงงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย 8น้ำตาลทิพย์สุโขทัย8,9น้ำตาลทิพย์สุโขทัย9 ตันต่อปี เทียบเท่าการลดการปล่อยก๊าชเรือนกระจก 34,437 tCOโรงงานน้ำตาลทิพย์ ต่อปี และ น้ำตาลทิพย์สุโขทัย88,โรงงานน้ำตาลทิพย์5น้ำตาลทิพย์สุโขทัย tCOโรงงานน้ำตาลทิพย์ ต่อปี (รวม โรงงานน้ำตาลทิพย์โรงงานน้ำตาลทิพย์โรงงานน้ำตาลทิพย์,688 tCOโรงงานน้ำตาลทิพย์ ต่อปี) โรงไฟฟ้าใช้เงินลงทุนประมาณ น้ำตาลทิพย์สุโขทัย,663 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินหมุนเวียน) IRR น้ำตาลทิพย์สุโขทัย7.4% ระยะเวลาคืนทุน 5 ปี มีต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าเฉลี่ย 46 ล้านบาทต่อ MW รายได้จากการขายไอน้ำและไฟฟ้า ประมาณ 5น้ำตาลทิพย์สุโขทัย6 ล้านบาทต่อปี
โรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ โรงไฟฟ้าขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง 36 MW ใช้วัตถุดิบจากชานอ้อยที่เหลือจากกระบวนการบีบสกัดน้ำอ้อยของโรงงานน้ำตาลทิพย์สุโขทัย เป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ นำมาผลิตไฟฟ้าและจำหน่ายให้ กฟภ. และผลิตไอน้ำจำหน่าย ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้กับโรงงานและระบบไฟฟ้าของจังหวัดสุโขทัย นายกุศล ชีวากร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน กล่าวภายหลังการเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ ว่า โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 36
การเคหะแห่งชาติเสริมความรู้ด้านบริหารจัดการพลังงาน สร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมให้ทุกคน ลดใช้พลังงานและใส่ใจสิ่งแวดล้อม
—
การเคหะแห่งชาติร่วมมือกับการไฟฟ้าส...
สถาพร เอสเตท (SE) กวาด 4 รางวัล จากเวที Thailand Energy Award 2023
—
สุนทร สถาพร (ที่ 4 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สถาพร เอสเตท จำกัด (SE) ผู...
ผู้บริหารบางจากฯ ร่วมผลักดันนวัตกรรมด้านพลังงานรุ่นเยาว์ ผ่านเวทีการประกวด The Young Energy Designer 2023
—
เมื่อเร็วๆ นี้ นางนฤพรรณ สุธรรมเกษม ผู้ช่วยกรร...
TPCH ปลื้ม! โรงไฟฟ้า PTG รับรางวัลดีเด่น ด้านพลังงานทดแทน
—
คุณประเสริฐ สินสุขประเสริฐ (ซ้าย) ปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานมอบรางวัลดีเด่น ด้านพลังงานทดแท...
"อาคาร เดอะ ธารา ซีพี ออลล์" คว้า 2 รางวัลใหญ่ด้านอนุรักษ์พลังงาน ทั้งในระดับประเทศและภูมิภาคเอเชีย
—
เมื่อเร็วๆนี้ นายประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ปลัดกระทรวง...
กรีนเวฟ คว้ารางวัล Thailand Energy Awards 2023 ตอกย้ำคลื่นวิทยุหนึ่งเดียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
—
ถือเป็นอีกหนึ่งกำลังใจดีดี วันนี้ ดีเจเฟี้ยต ธัชนนท์ จารุพัชนี...
CMAN คว้ารางวัลสถานประกอบการประหยัดพลังงานดีเด่น
—
นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (ซ้าย) รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานได้มอบโล่รางวัลสถา...
"SYS" โรงงานเหล็กรายแรกที่คว้ารางวัลเกียรติยศโรงงานที่มีการประหยัดพลังงานดีเด่น สะท้อนความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างยั่งยืน
—
SYS เหล็กดีที...
เชลล์คว้า 2 รางวัลดีเด่นระดับประเทศและระดับอาเซียน จากอาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
—
บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด โดย นางสาวอรอุทัย ณ เชียงให...