มาตรการ |
วัตถุประสงค์สำคัญ |
งบประมาณ (ล้านบาท) |
1. การส่งเสริมความรู้และการสนับสนุนปัจจัยการผลิต |
เพื่อการยังชีพและลดรายจ่ายในครัวเรือน หากมีเหลือจึงจำหน่าย |
1,028.80 |
2. การชะลอ/ขยายระยะเวลาชำระหนี้ |
ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสินเชื่อ ให้เกษตรกรที่เป็นหนี้กับสถาบันการเงิน |
6,052.01 |
3. การจ้างงานสร้างรายได้แก่เกษตรกร |
เพื่อสร้างรายได้ในขณะที่ไม่สามารถทำการเกษตรได้ |
2,241.93 |
4. การเสนอโครงการตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง |
ให้ชุมชนมีแผนการพัฒนาความต้องการและเหมาะสมกับชุมชน |
147.67 |
5. การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ |
ส่งเสริมรณรงค์ให้วิธีการเกษตรกรและปชช.ประหยัดน้ำ |
10.00 |
6. การเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน |
เพิ่มโอกาสใช้ประโยชน์จากน้ำต้นทุนที่เพิ่มขึ้น |
5,670.90 |
7. การเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน |
เพื่อสุขภาวะที่ดีจากโรคภัยและลดการสูญเสียทรัพย์สินทางการเกษตร |
|
8. การสนับสนุนอื่นๆ |
เพื่อบรรเทาผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง |
307.00 |
รวมงบประมาณ |
15,458.31 |
ที่มา : ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59 ระดับชาติ (ศก.กช.)
ศูนย์ติดตามและพยากรณ์เศรษฐกิจการเกษตร (KU OAE Foresight Center : KOFC) โดย ดร.ภูมิศักดิ์ ราศรี ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) พร้อมด้วย ผศ.ดร.กัมปนาท เพ็ญสุภา รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) เปิดเผยว่าอุทกภัย ถือว่าเป็นภัยธรรมชาติอย่างหนึ่งที่สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยได้ทุก ๆ ปี เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตมรสุมตลอดทั้งปี อุทกภัยในปี 2554 ที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศอย่างมหาศาลโดย