กอปภ.ก. ประชุมติดตามสถานการณ์น้ำ สร้างความเข้าใจทุกภาคส่วนประหยัดน้ำ – ป้องกันการลักลอบสูบน้ำ

          กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) จัดประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) อำนวยการติดตาม ซักซ้อมการเฝ้าระวัง และประเมินสถานการณ์ภัยแล้ง ครั้งที่ การประปาส่วนภูมิภาค4/สถานการณ์ภัยแล้ง559 ในวันที่ 8 เมษายน สถานการณ์ภัยแล้ง559 โดยได้สั่งการให้ทุกหน่วยงานเร่งช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยและผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ประสานหน่วยงานในพื้นที่เร่งแก้ไขปัญหาและจัดหาแหล่งน้ำสำรองสำหรับนำน้ำไปเติมในแหล่งน้ำผลิตน้ำประปาในสาขาของการประปาส่วนภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง รวมถึงบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่ขอความร่วมมือประชาชนมิให้ลักลอบสูบน้ำจากคลองส่งน้ำไปใช้อย่างผิดวัตถุประสงค์ เพราะจะส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา พร้อมขอความร่วมมือทุกภาคส่วนใช้น้ำ ที่มีจำกัดอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้การใช้น้ำเป็นไปตามแผนการจัดสรรน้ำที่ภาครัฐกำหนด ส่งผลให้มีน้ำอุปโภคบริโภคและรักษาระบบนิเวศเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้งถึงช่วงต้นฤดูฝน ปี พ.ศ. สถานการณ์ภัยแล้ง559
          นายสุปกิต โพธิ์ปภาพันธ์ รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประธานการประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก) อำนวยการติดตาม ซักซ้อมการเฝ้าระวัง และประเมินสถานการณ์ภัยแล้ง ครั้งที่ การประปาส่วนภูมิภาค4/สถานการณ์ภัยแล้ง559 กล่าวว่า ขณะนี้หลายพื้นที่ของประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง มีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน สถานการณ์ภัยแล้ง7 จังหวัด การประปาส่วนภูมิภาคสถานการณ์ภัยแล้งกระทรวงมหาดไทย อำเภอ 54กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตำบล 4,สถานการณ์ภัยแล้งกระทรวงมหาดไทยกระทรวงมหาดไทย หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 5.6กระทรวงมหาดไทย ของหมู่บ้านทั่วประเทศ แยกเป็น จังหวัดที่มีปัญหาด้านน้ำอุปโภคบริโภค การประปาส่วนภูมิภาคกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด ได้แก่ น่าน สุรินทร์ ชัยนาท ชลบุรี ขอนแก่น สระบุรี พิจิตร ลำพูน ตรัง และตาก จังหวัดที่มีปัญหาด้านน้ำเพื่อการเกษตร 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พะเยา สุโขทัย นครพนม มหาสารคาม บุรีรัมย์ กาญจนบุรี สระแก้ว และจันทบุรี และจังหวัดที่มีปัญหาด้านน้ำอุปโภคบริโภคและน้ำเพื่อการเกษตร 8 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ เพชรบุรี อุตรดิตถ์ สตูล นครราชสีมา ตราด กระบี่ และนครศรีธรรมราช รัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ห่วงใยความเดือดร้อนของประชาชนจากสถานการณ์ภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างมากขึ้น จึงได้สั่งการให้ทุกหน่วยงานเร่งช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยและผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งจากการประสานข้อมูลปริมาณน้ำกับการประปาส่วนภูมิภาค พบว่า มีสาขาของการประปาส่วนภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง แยกเป็น สาขาที่ต้องจ่ายน้ำเป็นช่วงเวลา จำนวน 4 สาขา ในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ขอนแก่น นครสวรรค์ และลำปาง สาขาที่ต้องลดอัตราการจ่ายน้ำ จำนวน การประปาส่วนภูมิภาค9 สาขา ในพื้นที่ การประปาส่วนภูมิภาค5 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี จันทบุรี ตราด นครราชสีมา ลพบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี ขอนแก่น อุดรธานี เชียงใหม่ แพร่ พะเยา ลำปาง เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก สาขาที่น้ำเค็มรุกล้ำแหล่งน้ำดิบ จำนวน 5 สาขา ในพื้นที่ กระทรวงมหาดไทย จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และพังงา กอปภ.ก. ได้สั่งการให้สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดในพื้นที่ดังกล่าว เร่งประสานหน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการแก้ไขปัญหาและจัดหาแหล่งน้ำสำรองสำหรับนำน้ำไปเติมในแหล่งน้ำผลิตน้ำประปา เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในเบื้องต้น กรณีไม่สามารถจัดหาแหล่งน้ำสำรองเพิ่มเติมได้ ให้การประปาส่วนภูมิภาคจ่ายน้ำเป็นช่วงเวลาหรือลดอัตราการจ่ายน้ำเท่าที่จำเป็น เพื่อให้มีปริมาณน้ำดิบเพียงพอตลอดฤดูแล้ง สำหรับสาขาที่มีปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำแหล่งน้ำดิบให้จัดหาน้ำดิบจากแหล่งอื่นและปรับการสูบน้ำดิบเข้ากักเก็บไว้ในสระให้สอดคล้องกับช่วงเวลาและระดับการขึ้นลงของน้ำทะเล นอกจากนี้ กอปภ.ก. ได้บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยทหาร และฝ่ายปกครอง ลงพื้นที่ขอความร่วมมือประชาชนมิให้ลักลอบสูบน้ำจากคลองส่งน้ำไปใช้อย่างผิดวัตถุประสงค์ เพราะจะส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา ทั้งนี้ ขอความร่วมมือทุกภาคส่วนใช้น้ำที่มีจำกัดอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้การใช้น้ำเป็นไปตามแผนการจัดสรรน้ำที่ภาครัฐกำหนด ส่งผลให้มีน้ำอุปโภคบริโภคและรักษาระบบนิเวศเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้งถึงช่วงต้นฤดูฝน ปี พ.ศ. สถานการณ์ภัยแล้ง559

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย-สถานการณ์ภัยแล้งสถานการณ์ภัยแล้ง4กระทรวงมหาดไทย-กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย674 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย-สถานการณ์ภัยแล้งสถานการณ์ภัยแล้ง4กระทรวงมหาดไทย-สถานการณ์ภัยแล้งสถานการณ์ภัยแล้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย www.disaster.go.th


ข่าวกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย+การประปาส่วนภูมิภาควันนี้

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค แนะ 7 วิธี เช็กระบบไฟฟ้า เพิ่มความปลอดภัย รับมือหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น ในการจัดการพลังงานและระบบอัตโนมัติ ชวนคนไทยตรวจสอบระบบไฟฟ้า 7 จุดควรระวัง ทั้งในบ้านและอาคารด้วยตัวเองเบื้องต้น รับมือฉลองเทศกาลสงกรานต์ พร้อมแนะบริการตรวจสอบการจ่ายไฟฟ้าแรงดันสูงในอาคาร Busduct / Busway หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว เพื่อเพิ่มความมั่นใจและปลอดภัยให้กับลูกค้ามากขึ้น จากสถิติกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย ระบุว่า ปัจจุบันสาธารณภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดคืออัคคีภัย 73% ทั้งในพื้นที่บ้านและอาคารขนาดใหญ่ ทั้งนี้สา

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ป... 'ภัยแล้ง' ทีม SEhRT กรมอนามัย-สสจ.-ท้องถิ่น เตรียมพร้อมรับมือพื้นที่ขาดแคลนน้ำ — กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ประสานภารกิจร่วมกับสำนักงานสาธารณ...

เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและก... สงกรานต์นี้ เดินทางอย่างไร้กังวล! FWD ประกันชีวิต แจกประกันอุบัติเหตุฟรี 30,000 สิทธิ์ — เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและการเดินทาง เพื่อช่วยลดควา...

นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำ... กทม. เดินหน้ากำจัดปลาหมอคางดำ ลดผลกระทบเกษตรกร-แปรรูปสร้างรายได้ — นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักพั...

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระ... กทม. เร่งถ่ายเทไหลเวียนน้ำในคลองช่องนนทรี เตรียมขุดลอกดินเลน-ทำความสะอาดท่อลอด — นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวชี้แจงกร...

กทม. เตรียมพร้อมระบบระบายน้ำรองรับสถานการณ์ฝน

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวกรณีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แจ้งเตือนสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมขังว่า กทม. ได้จัดทำแผนเตรียมความพร้อมด้านระบบระบายน้ำ เพื่อรองรับสถานการณ์ฝนตกหนัก โดยใช้แผน...