แล้งกระทบ ฉุดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ไตรมาส 3 หด 4.9 สศก. คาด ทั้งปียังหดตัว

          ภัยแล้ง กระทบการผลิตภาคเกษตร ฉุดภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 3 หดตัวร้อยละ 4.9 สศก. เผย ฝนทิ้งช่วง ทำให้ปริมาณน้ำใช้การได้ใน 4 เขื่อนไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ระบุ สาขาพืช สาขาประมง และสาขาบริการทางการเกษตร หดตัว ขณะที่สาขาปศุสัตว์ และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเพิ่มขึ้น คาดทั้งปี หดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-4.3) – (-3.3)
          นายสุรพงษ์ เจียสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 (กรกฎาคม – กันยายน ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558) พบว่า หดตัวร้อยละ 4.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องจากช่วงครึ่งแรกของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 สำหรับปัจจัยหลักที่ทำให้ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในไตรมาส 3 หดตัว ยังคงเป็นปัญหาภัยแล้งซึ่งส่งผลกระทบต่อการผลิตทางการเกษตรมาตั้งแต่ช่วงต้นปีนี้ ประกอบกับในช่วงเดือนพฤษภาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ซึ่งเป็นช่วงต้นฤดูเพาะปลูก หลายพื้นที่ของประเทศยังคงประสบภาวะฝนทิ้งช่วง ทำให้ปริมาณน้ำใช้การได้ใน 4 เขื่อนหลัก ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีไม่เพียงพอต่อการทำการเกษตร สร้างความเสียหายต่อการเพาะปลูกพืชหลายชนิด โดยเฉพาะข้าวนาปี สำหรับการผลิตสาขาปศุสัตว์ ยังขยายตัวได้ต่อเนื่องตามความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในสินค้าปศุสัตว์ของไทย เนื่องจากระบบการเลี้ยงที่ได้มาตรฐานและสินค้ามีคุณภาพ ส่วนสาขาประมง การผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยงออกสู่ตลาดมากขึ้น เนื่องจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) คลี่คลายลง ขณะที่การทำประมงทะเลประสบปัญหาสภาพอากาศที่แปรปรวน การยกเลิกสัมปทานประมงในน่านน้ำของประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายประมงอย่างเคร่งครัด ส่งผลกระทบต่อการออกเรือไปจับสัตว์น้ำตามธรรมชาติ โดยเฉพาะเรือประมง ขนาดเล็ก ทำให้ผลผลิตสัตว์น้ำที่จับได้ลดลง ขณะที่การผลิตประมงน้ำจืดลดลง เนื่องจากประสบปัญหาภัยแล้ง ทำให้เกษตรกรบางส่วนต้องงดการเลี้ยงปลา มีการปล่อยลูกปลาน้อยลง หรือชะลอการเลี้ยงออกไป
          ด้านนายคนิต ลิขิตวิทยาวุฒิ รองเลขาธิการ สศก. กล่าวในรายละเอียดว่า หากจำแนกแต่ละสาขา พบว่า สาขาพืช ไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 หดตัวร้อยละ 7.ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 โดยพืชสำคัญที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าว สับปะรดโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน ลำไย มังคุด และเงาะ โดยส่วนใหญ่ผลผลิตลดลง เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้งที่ยังคงเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ซึ่งเป็นช่วงต้นฤดูเพาะปลูก และสภาพอากาศที่แปรปรวน สำหรับพืชที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ มันสำปะหลัง ยางพารา และทุเรียน ด้านราคา พบว่า ในช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 สินค้าพืชที่มีราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ มันสำปะหลัง สับปะรดโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลำไย ทุเรียน มังคุด และเงาะ โดย มันสำปะหลัง ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ประกอบการ สับปะรดโรงงาน มีราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย ในขณะที่ความต้องการของโรงงานแปรรูปสับปะรดยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ภายในประเทศ ลำไย ทุเรียน มังคุด และเงาะ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการบริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศยังคงมีอย่างต่อเนื่อง 
          ด้านการส่งออก พบว่า สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น ในเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ได้แก่ น้ำตาลและผลิตภัณฑ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา โดย น้ำตาลและผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้น เนื่องจากการเร่งระบายปริมาณน้ำตาลที่มีมากกว่าปริมาณความต้องการบริโภคภายในประเทศ โดยตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย กัมพูชา ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศลาวเริ่มมีความต้องการเพิ่มขึ้นหลังจากหยุดนำเข้าไประยะหนึ่ง ยางพารา เพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการใช้จากประเทศคู่ค้าหลักอย่างจีนเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม มูลค่าส่งออกยางเพิ่มขึ้นไม่มากนัก เพราะราคายางในตลาดโลกทรงตัวในระดับต่ำ
สาขาปศุสัตว์ ในไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ขยายตัวร้อยละ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร.ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 โดยสินค้าหลักทั้งไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มปริมาณการผลิตเพื่อรองรับความต้องการบริโภคของตลาดที่ยังคงเพิ่มขึ้น ประกอบกับระบบการผลิตที่ได้มาตรฐานและมีการเฝ้าระวังและควบคุมโรคได้ดี ด้านราคา ในช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ไก่เนื้อ สุกร และไข่ไก่ มีราคาเฉลี่ยลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณมาก ส่วนราคาน้ำนมดิบโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เนื่องจากมาตรการปรับขึ้นราคารับซื้อน้ำนมดิบและคุณภาพน้ำนมดิบที่ดีขึ้น 
          ด้านการส่งออก การส่งออกสินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ ในช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ยังขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการส่งออกไปตลาดญี่ปุ่นที่ขยายตัวได้ต่อเนื่องทั้งในส่วนของไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่ปรุงแต่ง ขณะที่การส่งออกไปสหภาพยุโรปลดลงจากภาวะเศรษฐกิจยังที่ชะลอตัว ด้านการส่งออกนมและผลิตภัณฑ์มีปริมาณและมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคในตลาดอาเซียนมีความเชื่อมั่นในคุณภาพนมและผลิตภัณฑ์นมของไทย ทำให้การส่งออกไปยังตลาดอาเซียนขยายตัวเพิ่มขึ้น
          สาขาประมง ไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 หดตัวร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 โดยปริมาณสัตว์น้ำที่นำขึ้นท่าเทียบเรือในภาคใต้ในเดือนกรกฎาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 มีปริมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,54ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร.3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตัน ลดลงจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9,ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร78.7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตัน ในช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 หรือลดลงร้อยละ 4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยปริมาณสัตว์น้ำที่นำขึ้นที่ท่าเทียบเรือในภาคใต้โดยส่วนใหญ่ลดลงเป็นผลมาจากการยกเลิกสัมปทานประมงในน่านน้ำของประเทศอินโดนีเซีย และการบังคับใช้กฎหมายประมงที่มีความเข้มงวด ทำให้เรือประมงบางส่วนต้องหยุดการทำประมง สำหรับผลผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยงในเดือนกรกฎาคม ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 มีปริมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 ซึ่งมีปริมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6,ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร7กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์7.8 เนื่องจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) คลี่คลายลง ประกอบกับเกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดี ใช้พันธุ์กุ้งที่ต้านทานต่อโรค ทำให้มีอัตราการรอดสูง สำหรับผลผลิตจากประมงน้ำจืด เช่น ปลานิล และปลาดุก มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากภัยแล้งที่เกิดขึ้นต่อเนื่องมาถึงช่วงไตรมาส 3 ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาน้ำจืดลดเนื้อที่เลี้ยงปลาลงหรือชะลอการเลี้ยงออกไป
สาขาบริการทางการเกษตร ไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 หดตัวร้อยละ 6.ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 โดยการจ้างบริการเตรียมดินและไถพรวนดินลดลง เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาจากสถานการณ์ภัยแล้ง และผลตอบแทนจากการปลูกข้าวลดลง ประกอบกับการใช้บริการเกี่ยวนวดข้าวลดลงจากการเลื่อนการเพาะปลูกข้าวนาปีในช่วงต้นฤดู อย่างไรก็ตาม การขยายพื้นที่เพาะปลูกอ้อยโรงงานขยายตัวเพิ่มขึ้นจากการส่งเสริมการปลูกอ้อยของรัฐบาลและโรงงานน้ำตาล ทำให้มีการใช้บริการเครื่องจักรกลทางการเกษตร เช่น รถไถเตรียมดินเพิ่มขึ้น
          สาขาป่าไม้ ไตรมาส 3 ปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 ขยายตัวประมาณร้อยละ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร557 เนื่องจากผลผลิตป่าไม้ที่สำคัญ เช่น ไม้ยางพารา ถ่านไม้ และครั่ง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยไม้ยางพาราเพิ่มขึ้นตามพื้นที่การตัดโค่นจากการส่งเสริมของ สกย. อีกทั้งไม้ยางพารายังเป็นที่ต้องการของตลาดเพราะสามารถใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ส่วนผลผลิตถ่านไม้เพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการใช้ภายในประเทศและความต้องการนำเข้าถ่านไม้ของตลาดญี่ปุ่น ไต้หวัน และฮ่องกง ยังคงเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ไม้ยูคาลิปตัสลดลงกว่าร้อยละ 5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จากการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยูคาลิปตัสไปปลูกยางพาราทดแทน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสำคัญ เช่น จีน และญี่ปุ่น ชะลอตัว ทำให้ลดปริมาณการสั่งซื้อสินค้าประเภทวัตถุดิบลง
          ทั้งนี้ สำหรับแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร558 คาดว่า จะหดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-4.3) – (-3.3) โดยสาขาการผลิตที่หดตัวลง ได้แก่ สาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร ขณะที่สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลผลิตพืชที่ลดลง ได้แก่ ข้าว สับปะรดโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน และผลไม้ ขณะที่ผลผลิตปศุสัตว์ทั้งไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีทิศทางเพิ่มขึ้น สำหรับการผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยงปรับตัวดีขึ้น แต่เกษตรกรยังทำการผลิตไม่เต็มที่ เนื่องจากยังมีความกังวลเรื่องโรคระบาดและราคากุ้งมีแนวโน้มตกต่ำลง ในส่วนของการบังคับใช้กฎหมายการทำประมงอย่างเคร่งครัด ส่งผลกระทบต่อการการออกเรือไปจับสัตว์น้ำในทะเล ทำให้ปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือลดลง
 

                                             อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร                               หน่วย: ร้อยละ

สาขา

2558

ไตรมาส 3 (ก.ค. – ก.ย.)

ทั้งปี

ภาคเกษตร

-4.9

(-4.3) - (-3.3)

   สาขาพืช

-7.2

(-7.0) – (-6.0)

   สาขาปศุสัตว์

2.2

1.5 – 2.5

   สาขาประมง

-1.3

0.5 – 1.5

   สาขาบริการทางการเกษตร

-6.2

(-6.2) – (-5.2)

   สาขาป่าไม้

2.9

2.0 – 3.0


ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร+กระทรวงเกษตรและสหกรณ์วันนี้

ไทย - จีน จับมือสร้างความสัมพันธ์ พร้อมเปิดตลาดสินค้าด้านการเกษตร

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกับ นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย (H.E. Mr. Han Zhiqiang) โดยมี ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นายเศรษฐเกียรติ กระจ่างวงษ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมกรมวิชาการเกษตร นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร นายปณิธาน มีไชยโย ผู้อำนวยการองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ผู้

นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงา... โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในระดับชุมชนสร้างอาชีพมั่นคง ต่อยอดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร — นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร...

นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักง... ไทยส่งเสริมบทบาทสตรีในภาคเกษตร ผลักดันความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ ในเวที CFS ครั้งที่ 51 — นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ...

สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินด... สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา — สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อเกษตรกรรม และระบบนิเวศครบครัน นายฉันทานนท์...

นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศ... สศก. ขึ้นรับรางวัล 'Excellent Open Data Hub' หน่วยงานเปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ โครงการ DIGI DATA AWARDS — นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ...

หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคต... ผู้บริหาร TQR ขยันสุดๆ — หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคตสดใส ต้องยกให้กับ บมจ.ที คิว อาร์ (TQR) เดินหน้าคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา...

ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ... TQM ร่วมมอบประกันอุบัติแก่เกษตรกรไทย ในโครงการ "คุ้มครองอุบัติเหตุ เซฟเกษตรอาสา" — ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม คอร์ปอเรชั่น จำกัด (...