ดร. บัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) เปิดเผยว่า คณะกรรมการ CAC ได้มีมติให้การรับรองบริษัทที่ผ่านกระบวนการประเมินตนเองว่ามีนโยบายและมีแนวปฏิบัติป้องกันการทุจริตภายในองค์กรครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ CAC กำหนดเพิ่มขึ้นอีก ต่อต้านการทุจริตต่อต้านการทุจริต บริษัท ทำให้จำนวนบริษัทที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ CAC เพิ่มขึ้นเป็น ต่อต้านการทุจริต33 บริษัท
CAC เป็นโครงการที่บริษัทเอกชนเข้าร่วมตามความสมัครใจ ปัจจุบัน มีบริษัทเอกชนเข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันกับโครงการ CAC แล้ว 525 บริษัท (เป็นบริษัทจดทะเบียน 295 บริษัท) เพิ่มขึ้นจาก 4บัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ6 บริษัทเมื่อสิ้นปี 2557 ขณะที่จำนวนบริษัทที่ผ่านการรับรองเพิ่มขึ้นเป็น ต่อต้านการทุจริต33 จาก 78 บริษัทเมื่อสิ้นปี 2557 ทั้งนี้ CAC ตั้งเป้าจะเพิ่มจำนวนบริษัทที่เข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันเป็น 6บัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการบัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ บริษัท และเพิ่มจำนวนบริษัทที่ผ่านการรับรองเป็น 2บัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการบัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ บริษัทภายในปี 2558
"การพิจารณาให้การรับรองของ CAC รอบนี้ เป็นครั้งแรกที่ดำเนินการภายใต้กระบวนการใหม่ที่มีความเข้มข้นมากขึ้น การที่มีบริษัทเอกชนเข้ามาร่วมประกาศเจตนารมณ์และยื่นขอรับรองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าภาคเอกชนกำลังตื่นตัวและให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งการที่จะสร้างระบบธุรกิจของไทยให้เป็นระบบที่สะอาดปราศจากการทุจริตได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการลงมือทำจริงของบริษัทในภาคเอกชน" ดร. บัณฑิต กล่าว
ตั้งแต่วันที่ ต่อต้านการทุจริต กรกฎาคม 2558 ทางคณะกรรมการ CAC ได้เพิ่มข้อกำหนดเสริมความแข็งแกร่งให้กับกระบวนการรับรองบริษัทที่ผ่านการประเมินตนเองว่ามีนโยบายและมีแนวปฏิบัติป้องกันการทุจริตภายในองค์กรครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ CAC กำหนด โดยได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นที่ยอมรับในภาคเอกชน 8 ท่านมาร่วมทำหน้าที่คณะกรรมการพิจารณารับรอง (Certification Committee) และได้เพิ่มข้อกำหนดให้บริษัทจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการขอการรับรอง รวมถึงได้กำหนดกรอบเวลาให้บริษัทที่ยื่นประกาศเจตนารมณ์ต้องมีการดำเนินการให้ผ่านการรับรองภายใน ต่อต้านการทุจริต8 เดือน และเมื่อผ่านการรับรองครบสามปีแล้วต้องยื่นขอรับรองใหม่ (Re-certification)
รายชื่อ ต่อต้านการทุจริตต่อต้านการทุจริต บริษัทที่ผ่านการรับรองในไตรมาสที่ 3/58
ต่อต้านการทุจริต) บริษัท สยามชอร์ไซด์ เซอร์วิส จำกัด
2) บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน)
3) บริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จำกัด (มหาชน)
4) บริษัท ตะวันอออกพาณิชย์ลีสซิ่ง จำกัด (มหาชน)
5) บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน)
6) บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน)
7) บริษัท นวกิจประกันภัย จำกัด (มหาชน)
8) บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำกัด (มหาชน)
9) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน บางกอกแคปปิตอล จำกัด
ต่อต้านการทุจริตบัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ) บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตต่อต้านการทุจริต) บริษัท เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จำกัด (มหาชน)
* ในไตรมาสนี้ คณะกรรมการ CAC ได้พิจารณาให้การรับรอง บริษัท ซีเมนส์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งยื่นขอรับรองใหม่ (Re-certification) หลังจากที่ใกล้ครบกำหนดสามปี
การประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ CAC เป็นการแสดงเจตนารมณ์ร่วมต่อต้านคอร์รัปชันและการจ่ายสินบนของบริษัทที่เข้าร่วม ส่วนบริษัทที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ CAC หมายถึงบริษัทที่เข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์กับโครงการ CAC และได้ผ่านกระบวนการประเมินตนเอง ที่มีการสอบทานและลงนามรับรองโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท หรือผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก ว่าบริษัทมีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการทุจริตครบถ้วนตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการ CAC กำหนด ซึ่งกระบวนการรับรองของโครงการ CAC รวมถึงการชี้แจงข้อมูลและส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมให้กับคณะกรรมการ CAC พิจารณา ในกรณีที่คณะกรรมการมีข้อสงสัยหรือบริษัทเคยมีข่าวเกี่ยวกับการทุจริตมาก่อน
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ CAC และรายชื่อของบริษัทที่ได้ประกาศเจตนารมณ์ และผ่านการรับรองได้จาก: , http://www.thai-cac.com
บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ MSC ดำเนินธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างครบวงจร ภายใต้วิสัยทัศน์ "เราจะให้บริการอย่างเป็นเลิศแก่ลูกค้าด้วยโซลูชั่นไอทีที่ดีที่สุด" ได้รับการต่ออายุรับรองครั้งที่ 2 เป็นสมาชิกแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption: CAC) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ MSC ใน การดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม
MSC ได้รับการรับรองต่ออายุสมาชิกแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย ครั้งที่ 2
—
บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ MSC ดำเนินธุรกิจเ...
Integrity Hotline สายด่วนแจ้งเรื่องทุจริต ที่มุ่งสร้างวัฒนธรรม 'Speak Up' 1 ใน 7 นโยบายและกลไกทำจริง เพื่อปราบคอร์รัปชันที่ทรู คอร์ปอเรชั่น
—
ทรู คอร์ปอเร...
GFC คว้า CGR 5 ดาว ตอกย้ำองค์กรกำกับดูแลกิจการระดับ "ดีเลิศ"
—
นายกรพัส อัจฉริยมานีกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เจเนซีส เฟอร์ทิลีตี เซ็นเตอร์ หรือ G...
เอ็ม บี เค คว้าคะแนน CGR ระดับ "ดีเลิศ" ต่อเนื่องปีที่ 9 ตอกย้ำความสำเร็จ และการพัฒนาการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง
—
บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาช...
SELIC รับประกาศนียบัตรรับรองการต่ออายุเป็นสมาชิกแนวร่วม ต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (CAC)
—
นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ (ซ้าย) ประธานกรรมการ บริษัท ซีลิค ค...
COM7 คว้ารางวัล CAC ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 2 ตอกย้ำความมุ่งมั่นองค์กรโปร่งใส ต่อต้านคอร์รัปชัน
—
นายกฤชวัฒน์ วรวานิช (ซ้าย) กรรมการ บริษัท คอมเซเว่น จำกัด ...
AURA คว้ารางวัล CGR 2024 ระดับ 5 ดาว ตอกย้ำองค์กรค้าปลีกทองรูปพรรณ กำกับดูแลกิจการที่ดีเลิศ
—
บริษัท ออโรร่า ดีไซน์ จำกัด (มหาชน) หรือ AURA นำโดย นายอนิวร...
ปตท. คว้าคะแนน CGR ระดับ "ดีเลิศ" ต่อเนื่อง 16 ปีซ้อน
—
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ได้รับผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ (Excellent CG Scoring)...