มะเร็งปากมดลูก เพชฌฆาตร้าย ภัยเงียบใกล้ตัว รู้ทัน ป้องกันได้

          มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของหญิงไทยเป็นอันดับสองรองลงมาจากมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ผู้หญิงอายุก่อน 3สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ปี จนถึงวัยชราอายุ 8สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ปี และพบมากในช่วงอายุ 35 – 5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ปี ซึ่งพบมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ โดยทุกๆ มะเร็งเต้านม นาที จะมีผู้หญิงเสียชีวิต มะเร็งปากมดลูก คน ขณะที่หญิงไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก 7 คนต่อวัน เป็น มะเร็งปากมดลูก4 คน ต่อวัน ซึ่งคิดเป็นอัตราที่เพิ่มขึ้นถึง มะเร็งปากมดลูกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย% หรือเสียชีวิตประมาณ 4,5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย คน ต่อปี โดยในแต่ละปีจะมีหญิงไทยได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 9,สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย รายต่อปี ซึ่งร้อยละ 4สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย-5สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย จะเสียชีวิตจากโรค ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก จะตกประมาณ 35สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ล้านบาทต่อปี และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยหญิงไทยส่วนใหญ่คิดว่าตัวเองไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง และมักเกิดความอายความกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นกว่าจะรู้ตัวว่ามีอาการผิดปกติ ความรุนแรงของโรคก็มักอยู่ในระยะลุกลามทำให้มีอัตราการรอดชีวิตต่ำ ดังนั้นผู้หญิงทุกคนควรได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นประจำอย่างน้อยปีละ มะเร็งปากมดลูก ครั้ง และเพื่อให้ได้ผลดีที่สุดก็ควรฉีดวัคซีนร่วมด้วย
          นพ.วิสิทธิ์ สุภัครพงษ์กุล นายกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย กล่าวในโอกาสเป็นประธานในการจัดกิจกรรม One Gift for One Life โดยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย และความร่วมมือจากสโมสรโรตารีกรุงเทพ สุวรรณภูมิ เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ เสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อ HPV (Human Papilloma Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูก พร้อมแนวทางการปฏิบัติ และการดูแลอย่างถูกวิธี พร้อมส่งเสริมสุขภาพด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกให้กับน้องๆ สถานแรกรับเด็กหญิงบ้าน ธัญญพร ปทุมธานี ว่า "มะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อเอชพีวี (HPV) หรือ Human papilloma virus infection โดยเชื้อเอชพีวี (HPV) เป็นไวรัสที่ติดต่อผ่านทางการสัมผัส โดยการสัมผัสที่หมายถึงนี้ ส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดก็คือ เพศสัมพันธ์ ผิวหนังหรือเยื่อบุอวัยวะเพศ หรือปากมดลูก เมื่อมีรอยถลอกหรือแผลจะทำให้เชื้อเข้าไปได้ เชื้อเอชพีวีมีอยู่ร้อยกว่าสายพันธุ์ แต่ชนิดที่จะทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกมีประมาณ มะเร็งปากมดลูก5 สายพันธุ์ โดยสายพันธุ์ มะเร็งปากมดลูก6 และ มะเร็งปากมดลูก8 เป็นสาเหตุประมาณร้อยละ 7สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ของมะเร็งปากมดลูกนอกจากนี้อีก มะเร็งเต้านม สายพันธุ์ที่พบบ่อย คือสายพันธุ์ 6 และ มะเร็งปากมดลูกมะเร็งปากมดลูก ซึ่งเป็นสาเหตุประมาณร้อยละ 9สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ของโรคหูดหงอนไก่ โดยระยะเวลาตั้งแต่ติดเชื้อไวรัสจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งนั้น ใช้ระยะเวลาประมาณ มะเร็งปากมดลูกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย-มะเร็งปากมดลูก5 ปี แต่อาจเร็ว หรือ ช้ากว่านี้ได้ และแม้ว่าในปัจจุบันมะเร็งปากมดลูก จะเป็นเพียงมะเร็งชนิดเดียวที่สามารถป้องกันได้ด้วยการตรวจคัดกรองเป็นประจำร่วมกับการฉีดวัคซีน ซึ่งการฉีดวัคซีนเอชพีวีในปัจจุบันนั้นจะมีประโยชน์สูงสุดในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกเมื่อฉีดก่อนได้รับเชื้อเอชพีวี หรือก่อนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่เป็นโรคแล้วแม้วัคซีนจะไม่สามารถรักษาโรคที่เป็นอยู่ได้ แต่ยังมีประโยชน์ในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ดังนั้นผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนยังต้องตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอต่อไป"
          ด้าน ผศ.พญ. สุทธิดา อินทรบุหรั่น สูตินรีแพทย์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กล่าวเพิ่มเติมเกี่ยวกับเชื้อเอชพีวี ว่า "การติดเชื้อเอชพีวีสามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งหญิงและชาย และจากงานวิจัยพบว่าสามารถพบเชื้อนี้ได้ในที่อับชื้น เช่น ด้ามกดชักโครก ที่รองนั่ง ก๊อกน้ำในที่สาธารณะ (ห้องน้ำห้างสรรพสินค้า, โรงเรียน, สถานบันเทิง เป็นต้น) แต่สาเหตุหลักของการติดเชื้อคือ การมีเพศสัมพันธ์ หลังจากได้รับเชื้อเอชพีวีในสายพันธุ์ที่เสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็งปากมดลูกแล้วต้องมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่ส่งเสริมให้เป็นมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ การมีคู่นอนหลายคน, การมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย, มีการตั้งครรภ์และการคลอดบุตรหลายครั้ง, มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เริม ซิฟิลิส และหนองใน, การรับประทานยาคุมกำเนิดเป็นเวลานานๆ, การสูบบุหรี่หรืออยู่ในบริเวณที่มีควันบุหรี่, ร่างกายมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือ ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ และสตรีที่ไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมาก่อน โดยในระยะเริ่มแรกของมะเร็งปากมดลูกจะไม่แสดงอาการใดๆ แต่หากเป็นมากแล้วในระยะหลังๆ จะสังเกตอาการหรือสัญญาณเตือนภัยของมะเร็งปากมดลูกได้จากการตกเลือดทางช่องคลอด ซึ่งเป็นอาการที่พบได้มากที่สุดประมาณร้อยละ 8สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย – 9สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ของผู้ป่วยที่มีอาการ โดยเลือดที่ออกจะมีลักษณะเป็นเลือดออกกะปริบกะปรอยระหว่างมีรอบประจำเดือน, เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์, มีน้ำออกปนเลือด, ตกขาวปนเลือด และเลือดออกหลังวัยหมดประจำเดือน สำหรับอาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามมากขึ้นจะมีอาการ ขาบวม, ปวดหลังรุนแรง, ปวดก้นกบและต้นขา, ปัสสาวะเป็นเลือด และถ่ายอุจจาระเป็นเลือด โดยการลุกลามของมะเร็งปากมดลูกแบ่งออกเป็น มะเร็งเต้านม ช่วงใหญ่ๆ คือ ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม ซึ่งระยะนี้เซลล์เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและยังอยู่ภายในชั้นเยื่อบุผิวปากมดลูก ยังไม่ลุกลามเข้าไปในเนื้อปากมดลูก ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติเลย แต่จะตรวจพบได้จากการตรวจหาเชื้อไวรัสเอชพีวี หรือการตรวจทางเซลล์วิทยาของปากมดลูก หรือการตรวจคัดกรองที่เรียกว่าการตรวจแป๊ปสเมียร์ สำหรับระยะลุกลามแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือระยะที่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก ระยะที่ มะเร็งเต้านม มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก หรือผนังช่องคลอดส่วนบน ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ด้านข้างของเชิงกราน หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ และระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปัสสาวะ ทวารหนัก ลำไส้หรืออวัยวะอื่น ๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น"
          "การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันทำได้หลายวิธี ทั้งการตรวจภายในพบก้อนมะเร็ง, พบผลผิดปกติของเซลล์วิทยา หรือ แป๊ปสเมียร์ และได้ขลิบชื้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยาภายใต้การส่องกล้องขยายดูปากมดลูกหรือคอลโปสโคป สำหรับแนวทางการรักษามะเร็งปากมดลูกนั้นขึ้นอยู่กับระยะและอาการของมะเร็งปากมดลูกมีทั้งการผ่าตัด ซึ่งถ้ามะเร็งอยู่เฉพาะปากมดลูกอาจจะตัดแค่บริเวณปากมดลูก แต่ถ้ามะเร็งแพร่กระจายมากแพทย์อาจจะตัดมดลูก ท่อรังไข่ รวมทั้งต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง การให้รังสีรักษา การให้เคมีบำบัด เป็นต้น ซึ่งการรักษาต่างก็ให้ผลข้างเคียงที่แตกต่างกันออกไป สำหรับการป้องกันมะเร็งปากมดลูก สามารถป้องกันได้หลายวิธี โดยแบ่งให้เห็นอย่างชัดเจนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก) ระดับปฐมภูมิหรือระดับตัดต้นตอ คือ การป้องกันไม่ให้ปากมดลูกติดเชื้อเอชพีวี รวมถึงการลดความเสี่ยงต่างๆ และการฉีดวัคซีนเอชพีวี (HPV vaccine) เพื่อเสริมสร้างให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส โดยสามารถฉีดวัคซีนได้ในช่วง มะเร็งเต้านม อายุ คือ 9 – มะเร็งปากมดลูก3 ปี และ มะเร็งปากมดลูก3 ปีขึ้นไป มะเร็งเต้านม) ระดับทุติยภูมิหรือระดับตรวจคัดกรอง คือ การตรวจคัดกรองเพื่อตรวจหาความผิดปกติบริเวณปากมดลูกเพื่อให้การรักษาก่อนที่จะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูก การป้องกันในระดับนี้มีหลายวิธีเช่นกัน ซึ่งการตรวจคัดกรองนี้สำหรับผู้หญิงไทยแล้วถือได้ว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญมาก เพื่อค้นหาความผิดปกติในระยะก่อนที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูก 3)ระดับตติยภูมิหรือระดับของการรักษาหลังจากเป็นโรคแล้ว ซึ่งจะเกิดผลกระทบทั้งทางร่ายกายและจิตใจตามมา"
          "มะเร็งปากมดลูก สามารถรักษาและป้องกันได้ เพียงดูแลสุขภาพให้แข็งแรง หญิงไทยควรได้รับการตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยทุกๆ มะเร็งเต้านม-3 ปี เพื่อค้นหาความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูก รวมถึงการฉีดวัคซีนเอชพีวี เพื่อป้องกันต้นเหตุของมะเร็งปากมดลูก ซึ่งการฉีดวัคซีนควบคู่กับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอจะทำให้การป้องกันมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงหรือลดความเสี่ยงที่จะสัมผัสกับเชื้อเอชพีวี"
          อนึ่งโครงการ "One Gift for One Life" เป็นอีกหนึ่งในภารกิจของสมาคมมะเร็งนรีเวชไทยที่ดำเนินการขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ เสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชพีวี (Human Papilloma Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูก และสร้างความตระหนักให้หญิงไทย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก รวมถึงการเข้ารับการคัดกรองเป็นประจำทุกปี หรือการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยการฉีดวัคซีนเอชพีวี

มะเร็งปากมดลูก เพชฌฆาตร้าย ภัยเงียบใกล้ตัว รู้ทัน ป้องกันได้
มะเร็งปากมดลูก เพชฌฆาตร้าย ภัยเงียบใกล้ตัว รู้ทัน ป้องกันได้
มะเร็งปากมดลูก เพชฌฆาตร้าย ภัยเงียบใกล้ตัว รู้ทัน ป้องกันได้
มะเร็งปากมดลูก เพชฌฆาตร้าย ภัยเงียบใกล้ตัว รู้ทัน ป้องกันได้
 

ข่าวสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย+สมาคมมะเร็งนรีเวชวันนี้

WINMED ร่วมประชุมวิชาการประจำปี 2566 ของสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย

คุณกัญญสร ฐิตวรยศ (ที่ 2 จากขวา) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่าย กลุ่มผลิตภัณฑ์ดูแลสุขอนามัยระบบเจริญพันธุ์ บริษัท วินเนอร์ยี่ เมดิคอล จำกัด (มหาชน) (WINMED) เข้าร่วมงานประชุมวิชาการประจำปี 2566 ของสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ในหัวข้อ "Improvement For Better Health In Gynecologic Cancers" โดยมี รศ.นพ.วิชัย เติมรุ่งเรืองเลิศ (กลาง) นายกสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย และในปีนี้ได้รับเกียรติจากหน่วยมะเร็งวิทยานรีเวช ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นเจ้าภาพ

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณ... สตรีไทย รู้จัก รู้สิทธิ์ ตรวจเช็ก ป้องกัน “ไวรัสเอสพีวี” ต้นเหตุการเกิดมะเร็งปากมดลูก!!! — ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ สำนักง...

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณ... ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จัดโครงการรณรงค์ Thailand HPV Cervical Cancer Free #เอชพีวีไม่รู้ไม่ได้แล้ว — ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลั...

สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย จัดงานแถลงข่าวโครงการ “One Gift for One Life วัคซีนเพื่อน้อง ป้องกันมะเร็งปากมดลูก”

ขอเรียนเชิญร่วมงานแถลงข่าว สมาคมมะเร็งนรีเวชไทยจัดกิจกรรม "One Gift for One Life วัคซีนเพื่อน้อง ป้องกันมะเร็งปากมดลูก" ประจำปี พ.ศ. 2560 ได้ร่วมมือ กับกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เพื่อมอบ...

นายแพทย์ปานเนตร ปางพุฒิพงศ์ รองอธิบดีกรมก... ภาพข่าว: นานาชาติด้านมะเร็งนรีเวช “Cervical Cancer: Educational Symposium and Clinical Trials Workshop” — นายแพทย์ปานเนตร ปางพุฒิพงศ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์...