ปส.ผนึกกำลัง สทน.จัดบูธใหญ่ในงานมหกรรมวิทย์ฯ ชี้รังสีรอบตัว มีประโยชน์หลากหลายหากใช้ถูกวิธี

          สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน.ร่วมมือผนึกกำลังครั้งใหญ่ เพื่อจัดกิจกรรมและนิทรรศการด้วยพื้นที่กว่า 5มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ตร.ม.ในมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติปี 2558 ภายใต้แนวคิด "All About Radiation"(รู้รอบเรื่องรังสี) เพื่อแสดงให้เห็นว่าพลังงานนิวเคลียร์เป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งมนุษย์นำมาใช้ในรูปแบบของ "รังสี" โดยถ้าใช้อย่างถูกวิธีและมีการกำกับดูแล จะมีประโยชน์หลากหลายทั้งด้านการแพทย์ การศึกษาวิจัย อุตสาหกรรม การเกษตร ฯลฯ
          ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กล่าวว่าสำหรับภายในบูธนิทรรศการแบ่งเป็นโซนต่างๆ อาทิ "Nuclear World"จัดทำเป็นอุโมงค์ขนาดใหญ่ พร้อมแสดงนิทรรศการเรื่องประเทศไทยกับพลังงานนิวเคลียร์ และสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละแห่งในโลก และเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับนิวเคลียร์ของโลก ภายในอุโมงค์เด็กๆ จะได้ร่วมลุ้นกับการเดินหลบหลีกแสงเลเซอร์ซึ่งเปรียบเสมือนรังสี และยังมีนิทรรศการ "รังสีรอบตัวเรา"ที่จะทำให้เห็นว่าใน สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ วันเรารับรังสีอะไรบ้าง การจัดโชว์สิ่งของต่างๆ ใกล้ตัวเราซึ่งมีสารรังสี แต่หลายคนอาจนึกไม่ถึง เช่น แจกันเครื่องแก้ววาสลีน อุปกรณ์ตรวจจับควันบางชนิด ไส้ตะเกียงเจ้าพายุ ลวดเชื่อมทังสเตน เลนส์กล้องถ่ายรูป ของใช้ที่มีส่วนประกอบเป็นพรายน้ำและเรืองแสง เช่น นาฬิกา พวงกุญแจ เข็มทิศเดินป่า ศูนย์เล็งปืน ฯลฯ ถึงซึ่งเหล่านี้จะมีรังสีแต่ไม่น่าตกใจแต่อย่างใดเพราะปริมาณรังสีมีอยู่น้อยมากจนไม่สามารถทำให้เกิดอันตรายได้ นอกจากนี้ยังมีสิ่งแสดงนิทรรศการและอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เช่น หุ่นยนต์เก็บกู้รังสี เครื่องบินบังคับวิทยุตรวจวัดรังสี(Drone)ซึ่งเป็นการนำเครื่องบินแบบหลายใบพัดมาประยุกต์เข้ากับเครื่องวัดรังสี พร้อมให้ส่งข้อมูลการตรวจวัดรังสีและข้อมูลภาพเป็นแบบ real timeเพื่อใช้สำรวจปริมาณรังสีแกมมาในอากาศที่ระดับความสูงต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานของแต่ละพื้นที่ในประเทศ และใช้สำรวจปริมาณรังสีแกมมา ในกรณีที่มีอุบัติเหตุทางด้านรังสีเพื่อประเมินระดับรังสีในพื้นที่ จัดส่งผู้ปฏิบัติงานเก็บกู้วัสดุกัมมันตรังสี
          ปีนี้นับเป็นครั้งที่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ แล้วที่ ปส.มาร่วมในงานมหกรรมวิทย์ฯปีนี้นับว่าเป็นกิจกรรมครั้งใหญ่ เนื่องจากมีการร่วมมือกันของทั้ง 2 หน่วยงานสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติมีหน้าที่หลักในการกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี นิวเคลียร์และวัสดุนิวเคลียร์พร้อมเสนอแนะนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและใช้พลังงานปรมาณู และ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)จะที่เน้นการวิจัยพัฒนาและนำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งทั้งสองหน่วยงาน ต้องมีการทำงานที่เกี่ยวเนื่องสอดคล้องกัน 
          ส่วน ดร.หาญณรงค์ ฉ่ำทรัพย์ รองผู้อำนวยการ รักษาการผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. กล่าวว่า "เรามีการคิดค้นวิจัยโดยใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์มาประยุกต์และพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ตลอดมา ซึ่งต้องผ่านการศึกษาวิจัยจนมั่นใจในความปลอดภัยก่อนส่งต่อไปยังผู้ใช้ เช่น เอ็กซเรย์หรือรังสีเอ็กซ์ รังสีรักษาโรค รังสีเพื่อการปลอดเชื้อ ทางการเกษตร เช่น พัฒนาพันธุ์พืชให้ดีกว่าเดิม กำจัดแมลง (ทำหมันแมลง) ทำลายเชื้อโรคในอาหาร ฯลฯ ส่วนประโยชน์ทางธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรม เช่น ใช้รังสีเพื่อหาความชำรุดของหอกลั่นน้ำมัน ฉายอัญมณีให้สีสันสวยงามขึ้น ในอุตสากรรมกระดาษก็ใช้รังสีวัดความหนาของกระดาษเพื่อทดสอบคุณภาพ และอีกหลายอย่างเราก็คิดไม่ถึง เช่น นักวิทยาศาสตร์นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อหาอายุของซากสิ่งมีชีวิต เป็นต้น
          ในงานนี้ เรามีไฮไลท์คือพอลิเมอร์ดูดซึมน้ำสูงผลิตจากมันสำปะหลังโดยการใช้กระบวนการทางรังสีมาสังเคราะห์สามารถเก็บกับน้ำในปริมาณสูงมากถึง 5มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เท่าของน้ำหนักแห้ง จึงเปรียบเสมือนเป็นแหล่งกักเก็บน้ำให้กับพืช ทำให้ลดปริมาณการใช้น้ำในการทำการเกษตร หรือสามารถใช้ผสมกับดินเพื่อปลูกในอาคารบ้านเรือน เหมาะมากๆ กับที่อยู่อาศัยแบบคอนโดที่สำคัญคือสามารถย่อยสลายได้ง่ายโดยธรรมชาติเพราะผลิตจากธรรมชาติ โดยเรานำแปลงไม้ดอกไม้ประดับที่ปลูกโดยใช้พอลิเมอร์มาโชว์ในงานได้ให้สัมผัสกันแบบชัดๆ ด้วย จะได้เห็นถึงลักษณะของพอลิเมอร์เกล็ดเล็กๆ ที่นำมาแช่น้ำเพียง สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ วันก็ขยายใหญ่ขึ้นถึงประมาณ5มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เท่า"
          ดร.พิริยาธร สุวรรณมาลา หัวหน้าโครงการวิจัย สทน.และเป็นเจ้าของผลงานพอลิเมอร์ดูดซึมน้ำสูงนี้ เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมว่า "นอกจากไม้ดอกไม้ประดับหรือพืชไร่ประเภทข้าวโพด ยาง มันสำปะหลังที่นำพอลิเมอร์ไปใช้แล้วได้ผลผลิตที่ดีขึ้นแล้ว ปัจจุบัน สทน.กำลังนำไปทดลองใช้กับส้มบางมด เนื่องจากขณะนี้พื้นที่สวนส้มที่บางมดมีปัญหาการขาดแคลนน้ำจืด และในบางช่วงพื้นที่มีปัญหาเรื่องน้ำทะเลหนุน พอลิเมอร์ดูดซึมน้ำสูงอาจจะช่วยได้ ทีมนักวิจัยจึงลงพื้นที่เพื่อศึกษาสภาพดินและแนวทางการทดลองในแปลงปลูกส้ม รวมทั้งทดลองนำพอลิเมอร์ไปใช้ในช่วงอนุบาลต้นอ่อนในกระถางก่อนนำลงแปลงปลูกจริง ซึ่งผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจ โดย
พอลิเมอร์ดูดซึมน้ำที่ผสมไปในดินทำให้ไม่ต้องให้น้ำต้นส้มได้นานถึง 2 สัปดาห์ ซึ่งทีมวิจัยจะศึกษาเพิ่มเติมในการนำพอลิเมอร์ดังกล่าวผสมลงไปในแปลงปลูกเพื่อดูผลของพอลิเมอร์ดูดซึมน้ำสูงที่มีต่อการเพาะปลูกส้มบางมดต่อไป
          นอกจากนี้ ยังมีนิทรรศการเกี่ยวกับวิจัยและพัฒนาด้านนิวเคลียร์ที่ส่งเสริมภาคการเกษตร อาทิ การควบคุมแมลงวันผลไม้โดยการทำหมันแมลง หากเกษตรกรในพื้นที่ดำเนินการครบวงจร จะสามารถลดปริมาณการทำลายพืชไร่และผลไม้ในสวนได้กว่าร้อยละ 8มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือการปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยรังสีที่สามารถพัฒนาสายพันธุ์พืชให้มีความแข็งแรง ต้านทานโรค หรือให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ตลอดจนการผลิตไคโตซานฉายรังสี ซึ่งผลิตมาจากเปลือกกุ้ง กระดองปู เพื่อทำมาฉายรังสีจะทำให้โครงสร้างโมเลกุลของไคโตซานเหล่านั้นมีขนาดเล็กลง ทำให้พืชดูดซึมไปใช้ได้ดีขึ้น พืชเหล่านั้นก็จะแข็งแรงมีผลผลิตที่มีคุณภาพ"
          "สิ่งที่คาดหวังว่าจากการเข้าร่วมจัดแสดงบูธในปีนี้ ไม่เพียงแต่จำนวนคนเข้าชมบูธที่เพิ่มมากขึ้น จากเดิมมีจำนวน 5,มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ – 7,มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คนต่อวัน ปีนี้คาดว่าจะมีถึง สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ–สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ2,มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คนต่อวัน แต่ที่สำคัญคือ นักเรียนนักศึกษาและคนทั่วไปได้เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ ปส. และ สทน. มากขึ้น รวมถึงรับรู้ถึงการนำรังสีและพลังงานมหาศาลของนิวเคลียร์ ไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ และสามารถนำไปต่อยอดสร้างสรรค์นวัตกรรมในอนาคต"ดร.อัจฉรา กล่าวเสริม
          บูธนิทรรศการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดขึ้นภายในมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติปี 2558ระหว่างวันที่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ4 - 25 พฤศจิกายน 2558 เวลา มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ9.มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ – 2มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ น. ณ อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพคเมืองทองธานี เปิดให้เข้าชมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายภายในงานนิทรรศการครั้งนี้ ยังมีศิลปินดารามาร่วมกิจกรรมและแสดงมินิคอนเสิร์ตถึง 8 วันอาทิ ตั้ม The Star (วราวุธ โพธิ์ยิ้ม), ปอ AF (อรรณพ ทองบริสุทธิ์), ฝน ศนันธฉัตร จากซีรี่ส์ Hormone, พัดชา AF, หมอเจี๊ยบ (ลลนา ก้องธรนินทร์), เต๋า เศรษฐพงศ์ และดารานักร้องสาวเสียงห้าว ซานิ นิภาภรณ์ร่วมด้วยเกมสุดมันส์ เช่นเกม Computer รวม สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ station ซึ่งเป็นเด็กๆ ให้ความสนใจอย่างมากเพราะเป็นที่เกมสนุกแต่แฝงเนื้อหาความรู้ การจัดนิทรรศการครั้งนี้จึงนอกจากจะเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กๆ นักเรียนนักศึกษาได้ร่วมเรียนรู้เปิดประสบการณ์ใหม่เกี่ยวกับรังสีโดยย่อยข้อมูลให้เข้าใจได้ง่ายๆแล้วยังมีกิจกรรมสาระและบันเทิงที่สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับรังสีอย่างครบถ้วน แถมได้ของที่ระลึกติดไม้ติดมือไปด้วย
ปส.ผนึกกำลัง สทน.จัดบูธใหญ่ในงานมหกรรมวิทย์ฯ ชี้รังสีรอบตัว มีประโยชน์หลากหลายหากใช้ถูกวิธี

ข่าวมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ+สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติวันนี้

ภาพข่าว: สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ร่วมออกบูธในงาน มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติและงานเทคโนโลยี

นางสาวนิภาวรรณ ปรมาธิกุล รองผู้อำนวยการ ฝ่ายบริการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เยี่ยมชมบูธนิทรรศการ ซึ่งจัดขึ้นในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติและงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ประจำปี 2561 ด้วยการเนรมิต "NUCLEAR WONDERLAND" มหัศจรรย์เมืองนิวเคลียร์ โซนแห่งความรู้ของพลังงานนิวเคลียร์ 5 โซน ได้แก่ โซนการเกษตร : อาณาจักรแห่งต้นไม้และพืชพันธุ์, โซนอุตสาหกรรม : อาณาจักรแห่งอุตสาหกรรมไฮเทค, โซนแห่งสุขภาพ : อาณาจักรแพทย์ที่ล้ำสมัย, โซนสิ่งแวดล้อม : ศูนย์กลางของสิ่งแวดล้อม

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์กา... สทน. ชวนชมคอนเสิร์ตศิลปิน AF พร้อมกิจกรรมรับของที่ระลึกเพียบ ในมหกรรมวิทย์ฯ 60 — สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. จัดนิทรรศการใน...

ดร.พรเทพ นิศามณีพงษ์ ผู้อำนวยการสถาบันเทค... สทน. ร่วมมหกรรมวิทย์ฯ ปี 2560 จุดประกาย “การค้นพบทางนิวเคลียร์” — ดร.พรเทพ นิศามณีพงษ์ ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สท...

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบัน... ปส. และ สทน. ร่วมงานมหกรรมวิทย์ 59 เน้นธีม “โลกทัศน์ใหม่ นิวเคลียร์ไทย ปลอดภัย ให้ประโยชน์” — สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์...

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และสถาบันเ... ปส. และ สทน. ร่วมงานมหกรรมวิทย์ 59 เน้นธีม “โลกทัศน์ใหม่ นิวเคลียร์ไทย ปลอดภัย ให้ประโยชน์” — สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แ...

ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงาน... ภาพข่าว: ปส. และ สทน. ร่วมมหกรรมวิทย์ฯ 59 เน้นความปลอดภัยของนิวเคลียร์ไทย — ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ ดร.พรเทพ น...

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบัน... รวมพล AF ร่วมกิจกรรมที่บูธ ปส. และ สทน. ในมหกรรมวิทย์ 59 — สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. ร...

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบัน... ปส. และ สทน. ร่วมงานมหกรรมวิทย์ 59 เน้นธีม “โลกทัศน์ใหม่ นิวเคลียร์ไทย ปลอดภัย ให้ประโยชน์” — สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์...

ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงาน... ปส. และ สทน.ร่วมมหกรรมวิทย์ฯ58 กระตุ้นความรู้เรื่องรังสี — ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.)และดร.หาญณรงค์ ฉ่ำทรัพย์ รักษากา...

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และสถาบันเ... ปส.ผนึกกำลัง สทน.จัดบูธใหญ่ในงานมหกรรมวิทย์ฯ ชี้รังสีรอบตัว มีประโยชน์หลากหลายหากใช้ถูกวิธี — สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แ...