“กรมทรัพยากรน้ำบาดาล” วางมาตรการรับสถานการณ์ภัยแล้งพร้อมเตือนภัยระวังมิจฉาชีพปลอมเอกสารแอบอ้างได้งานจ้างเจาะน้ำบาดาล หวังตบทรัพย์

          กรมทรัพยากรน้ำบาดาลวางมาตรการรับมือสถานการณ์ภัยแล้ง แก้ปัญหาทั่วประเทศ เร่งรัดโครงการ ปี สถานการณ์ภัยแล้ง559 เจาะน้ำบาดาลเกือบ 6,กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บ่อ งบประมาณ 3,4กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ล้านบาท พร้อมแจ้งเตือนภัยประชาชนและบริษัทรับจ้างเจาะบ่อน้ำบาดาลให้ระวังและอย่าหลงเชื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลแอบอ้างว่าได้รับงานจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ำบาดาล มิฉะนั้นอาจสูญเสียทรัพย์สิน แก่มิจฉาชีพ ย้ำหากมีข้อสงสัยให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาล หรือติดต่อผ่านสายด่วนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Green Call กรมทรัพยากรน้ำบาดาล3กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กด 4
          นายสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี รักษาราชการแทนอธิบดีกรมทรัพยากร น้ำบาดาล เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากสถานการณ์แหล่งน้ำต้นทุนของลุ่มน้ำเจ้าพระยาใน 4 เขื่อนหลักน้อยกว่า ปีที่ผ่านมา รัฐบาลได้มีนโยบายให้ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบูรณาการป้องกันและบรรเทา ความเดือดร้อนเพื่อช่วยเหลือประชาชนที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้ประเมินศักยภาพของแหล่งน้ำบาดาลต้นทุนที่สามารถพัฒนาขึ้นมาใช้ประโยชน์ในช่วงที่เกิดภาวะภัยแล้ง และเตรียมความพร้อมในการแก้ไขปัญหาล่วงหน้า โดยมอบเป็นนโยบายเร่งด่วนในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลในการให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบปัญหาภัยแล้งทั่วประเทศ ดังนี้
          มาตรการที่ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล จัดเตรียมอุปกรณ์และเครื่องจักรเพื่อให้พร้อมดำเนินการในพื้นที่ ประกอบด้วย ชุดเจาะบ่อน้ำบาดาล 9สถานการณ์ภัยแล้ง ชุด ชุดเป่าล้างทำความสะอาดบ่อน้ำบาดาล 76 ชุด ชุดซ่อมระบบประปาและ เครื่องสูบ 56 ชุด ชุดปรับปรุงคุณภาพน้ำเคลื่อนที่ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล8 ชุด รถบรรทุกน้ำ 95 คัน จุดจ่ายน้ำถาวร 87 แห่ง และระบบน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนทั่วประเทศ จำนวน สถานการณ์ภัยแล้ง,63กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ระบบ
          มาตรการที่ สถานการณ์ภัยแล้ง จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เพื่อติดตามให้ความช่วยเหลือเรื่องน้ำกินน้ำใช้ของประชาชน และรับแจ้งการขอความช่วยเหลือด้านน้ำบาดาลจากประชาชนผ่านสายด่วนกระทรวงทรัพยากรรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Green Call กรมทรัพยากรน้ำบาดาล3กรมทรัพยากรน้ำบาดาลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กด 4
          มาตรการที่ 3 เร่งรัดการดำเนินงาน 4 โครงการหลักของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในปีงบประมาณ พ.ศ. สถานการณ์ภัยแล้ง559 เป้าหมายรวม 5,997 แห่ง งบประมาณ 3,45สถานการณ์ภัยแล้ง ล้านบาท ทั้งนี้ เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะสามารถให้บริการประชาชนได้กว่า 53กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ครัวเรือน มีพื้นที่ได้รับประโยชน์ไม่น้อยกว่า 39กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไร่ คิดเป็นปริมาณน้ำประมาณ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล97 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ประกอบด้วย

          - โครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค เป้าหมายดำเนินการ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล,836 แห่งทั่วประเทศ งบประมาณ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล,468 ล้านบาท เป็นการจัดหาแหล่งน้ำบาดาลพร้อมก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบกระจายน้ำให้แก่หมู่บ้านที่ไม่มีระบบประปา ซึ่งจะช่วยให้ประชาชน มีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างพอเพียงตลอดฤดูแล้ง 
          - โครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ำดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศหรือโครงการน้ำโรงเรียน เป้าหมายดำเนินการ 688 แห่งทั่วประเทศ งบประมาณ 74สถานการณ์ภัยแล้ง ล้านบาท เพื่อช่วยให้นักเรียนและบุคคลากรในโรงเรียน รวมถึงชุมชนใกล้เคียงมีน้ำดื่มสะอาดมาตรฐานองค์การอนามัยโลกและ เป็นจุดให้บริการน้ำอุปโภคบริโภคในช่วงที่เกิดภัยธรรมชาติได้อีกด้วย 
          - โครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้ง เป้าหมายดำเนินการจำนวน กรมทรัพยากรน้ำบาดาล,สถานการณ์ภัยแล้ง78 แห่ง งบประมาณ 5กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม6 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในช่วงฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วง ให้มีแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูกพืชผักในการเลี้ยงชีพและประกอบอาชีพ ช่วยให้คนในพื้นที่ มีงานทำ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และช่วยบรรเทาปัญหาการละทิ้งถิ่นฐานไปหางานทำในเมืองใหญ่           
          -โครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้งระยะเร่งด่วนบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา จำนวน 2,195 แห่ง งบประมาณ 735 ล้านบาท โดยกรมทรัพยากรน้ำบาดาลดำเนินการเจาะบ่อน้ำบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบน้ำในพื้นที่นอกเขตชลประทาน จำนวน 1,460 แห่ง ส่วนอีก 735 แห่ง ซึ่งอยู่ ในเขตชลประทานเป็นการจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาล และกรมทรัพยากรน้ำบาดาลดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบน้ำเอง
          
          มาตรการที่ 4 การให้ความช่วยประชาชนในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค ผ่านโครงการ "ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจ ช่วยภัยแล้ง" ประจำปี พ.ศ. 2559 ประกอบด้วย 5 หน่วยงาน คือ กองทัพบก การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และกรมทรัพยากร น้ำบาดาล โดยเปิดจุดจ่ายน้ำถาวรทั่วประเทศ 87 แห่ง เพื่อบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้ำแก่ประชาชน ซึ่งคาดว่าจะเปิดโครงการอย่างเป็นทางการ ภายในต้นปี 2559

          มาตรการที่ 5 สร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน เช่น ความรู้เรื่องการทรุดบ่อ การเจาะบ่อน้ำบาดาลทำให้เกิดแผ่นดินทรุดหรือไม่ รวมถึงการชี้แจงทำความเข้าใจกับเกษตรกรในการนำ น้ำบาดาลไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และไม่นำน้ำบาดาลไปใช้เพาะปลูกข้าว
          มาตรการที่ 6 เฝ้าระวังระดับน้ำบาดาลและตรวจสอบคุณภาพน้ำบาดาลผ่านเครือข่าย บ่อสังเกตการณ์ทั่วประเทศ 2,561 สถานี จำนวน 5,515 บ่อ และสามารถกักเก็บไว้ใช้เป็นแหล่งน้ำสำรอง ในกรณีจำเป็นได้ ไม่น้อยกว่า 161 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
          มาตรการที่ 7 การแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำประปาสำหรับการอุปโภคบริโภคของประชาชน ในเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาล (กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวม 7 จังหวัด) ที่ผ่านมากรมทรัพยากร น้ำบาดาลได้ออกใบอนุญาตใช้น้ำบาดาลแล้ววันละ 800,000 ลูกบาศก์เมตร และสามารถออกใบอนุญาต ให้ใช้น้ำบาดาลเพิ่มเติมได้อีกวันละ 400,000 ลูกบาศก์เมตร รวมเป็นวันละ 1,200,000 ลูกบาศก์เมตร (ไม่เกิน Safe Yield 1.25 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นปริมาณน้ำที่เหมาะสมที่สามารถนำขึ้นมาใช้ได้ โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่อง) ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตงดใช้น้ำประปา และให้ใช้น้ำบาดาลเพียงอย่างเดียว โดยเฉพาะ โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีผลให้ประชาชนได้ใช้น้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภคได้อย่างเพียงพอ ตลอดฤดูแล้ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันปริมาณการสูบใช้น้ำบาดาลในเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาลมีเพียงวันละ 200,000 ลูกบาศก์เมตรเท่านั้น
          รักษาราชการแทนอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล กล่าวเพิ่มเติมว่า ขณะนี้ได้มีบุคคลและกลุ่มบุคคลแอบอ้างปลอมแปลงเอกสารราชการหลอกลวงว่า ได้รับงานจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาล จากกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ อาจทำให้ผู้มีอาชีพรับจ้างเจาะบ่อน้ำบาดาลหรือผู้เกี่ยวข้องหลงเชื่อ และไปดำเนินการทำสัญญารับงานจ้างกับบุคคลและกลุ่มบุคคลดังกล่าว โดยมีการเรียกเก็บค่าตอบแทนหรือเรียกเก็บเงินมัดจำล่วงหน้า หรือขอรับผลประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ กรมทรัพยากรน้ำบาดาลขอเรียนให้ทราบว่า หากจะดำเนินการจัดจ้างเมื่อใดจะมีการประกาศให้ทราบอย่างชัดเจน พร้อมเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล (www.dgr.go.th) และขอย้ำว่าแนวทางหรือหลักเกณฑ์วิธีการจัดซื้อจัดจ้างของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลจะไม่มีการเรียกเก็บเงินล่วงหน้าหรือให้วางเงินมัดจำใดๆ และการลงนาม ในสัญญาต่างๆ คู่สัญญาต้องเดินทางไปลงนาม ณ ที่ทำการของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในส่วนกลางหรือ ส่วนภูมิภาค 12 แห่ง เท่านั้น
          ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้เมื่อประมาณต้นปี 2558 กรมทรัพยากรน้ำบาดาลได้ทำหนังสือแจ้งให้ประธานชมรมช่างเจาะน้ำบาดาลแห่งประเทศไทย ประธานชมรมช่างเจาะน้ำบาดาลแห่งประเทศไทยภาคเหนือ นายกสมาคมน้ำบาดาลไทย และประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทราบถึงกรณีมีบุคคลและ กลุ่มบุคคลแอบอ้างว่าได้รับงานจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในแต่ละพื้นที่ ทั่วประเทศแล้วครั้งหนึ่ง และจัดทำประกาศเตือนบนหน้าเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล (www.dgr.go.th) รวมทั้งได้ดำเนินการมอบอำนาจการร้องทุกข์แทนอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ให้ผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 1-12 สามารถดำเนินการตามกฎหมายกับผู้ที่กระทำการดังกล่าว เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่กรมทรัพยากรน้ำบาดาลและประชาชนทั่วไป ซึ่งทางหน่วยงานจะเร่งประสานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในท้องที่ที่เกิดเหตุแล้วเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทำการแอบอ้างดังกล่าวมาดำเนินคดีอาญาให้ถึงที่สุด
หากประชาชนท่านใดพบการกระทำดังกล่าวให้แจ้งความดำเนินคดีตามกฎหมายได้ทันที สำหรับ
          ประชาชนที่ต้องการความช่วยเหลือด้านน้ำบาดาล หรือผู้มีอาชีพรับจ้างเจาะบ่อน้ำบาดาลที่มีข้อสงสัยต้องการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาล สามารถติดต่อผ่านสายด่วน Green Call 1310 กด 4

ข่าวกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม+กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติวันนี้

อ.อ.ป. รับเกียรติบัตร "องค์กรพัฒนาคุณธรรม ประจำปี 2567"

นายประสิทธิ์ เกิดโต รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (รษก.ผอ.อ.อ.ป.) เป็นผู้แทนปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปกท.ทส.) ในฐานะประธานอนุกรรมการส่งเสริมคุณธรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) มอบเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติให้กับ "องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ หรือ อ.อ.ป." หน่วยงานในสังกัด ทส. ที่มี "ผลการประเมินคุณธรรม ประจำปี 2567" ระดับ "องค์กรพัฒนาคุณธรรม" ตามโครงการส่งเสริมชุมชน องค์กร อำเภอ และจังหวัดคุณธรรม โดยมี นายถนอมศักดิ์ เฉียบแหลม รองผู้อำนวยการ

บริษัท เจียไต๋ จำกัด ผู้นำธุรกิจนวัตกรรมก... เจียไต๋คว้ารางวัลสำนักงานสีเขียวระดับดีเยี่ยม มุ่งเป้าขับเคลื่อนธุรกิจอย่างยั่งยืน — บริษัท เจียไต๋ จำกัด ผู้นำธุรกิจนวัตกรรมการเกษตรของไทย โดยนายเกียรติศ...

ประภัสรา นิมมานเทวินทร์ ผู้จัดการทั่วไป บ... MSM รับตราสัญลักษณ์ G-Green — ประภัสรา นิมมานเทวินทร์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เมืองทอง เซอร์วิสเซส แอนด์ แมเน็จเม้นท์ จำกัด หรือ MSM เครือบางกอกแลนด์ ...