สพฉ.เร่งพัฒนาการแจ้งเหตุสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินสำหรับผู้บกพร่องทางร่างกายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้บกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน และการพูด เนื่องจากมีปัจจัยที่ทำให้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบโทรศัพท์ปกติไม่สะดวก

          นพ.อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กล่าวว่า สพฉ. มีการพัฒนาระบบการรับแจ้งเหตุสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้บกพร่องทางร่างกาย ทั้งการมองเห็น การได้ยิน และการพูด สพฉ. ยิ่งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากมีปัจจัยที่ทำให้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบโทรศัพท์ปกติทำได้ไม่สะดวก
          สำหรับผู้บกพร่องทางการได้ยินและการพูดนั้น สพฉ. ได้จัดทำโครงการร่วมกับมูลนิธิสากลเพื่อคนพิการและศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้บกพร่องทางการได้ยินและการพูด สามารถสื่อสารขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินได้ โดยหากเจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถแจ้งเหตุผ่านแอพพลิเคชั่น TTRS Video ของศูนย์ล่ามภาษามือ หรือสื่อสารผ่านตู้ TTRS ซึ่งปัจจุบันมีกว่า มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการผู้บกพร่องทางการได้ยินสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตู้ ทั่วประเทศ ทั้งในสถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้า และสถานีขนส่งมวลชน โดยผู้บกพร่องทางการได้ยินสามารถใช้ภาษามือสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ผ่านวิดีโอคอลได้ตลอด ผู้บกพร่องทางการได้ยิน4 ชั่วโมง จากนั้นจะมีการประสานงานต่อมายังศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ669 ของแต่ละจังหวัด เพื่อซักประวัติอาการ และระบุตำแหน่งที่เกิดเหตุ รวมไปถึงการให้คำแนะนำในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อนส่งจัดส่งทีมผู้ปฎิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินไปให้ความช่วยเหลือ
          นอกจากนี้ สพฉ. ยังมีการพัฒนาแอพลิเคชั่น EMSมูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ669 หรือแอพลิเคชั่นเรียกรถพยาบาลด้วย โดยผู้ป่วยฉุกเฉินสามารถกดเรียกรถพยาบาล แจ้งอาการและพิกัดที่อยู่ได้ทันที รวมทั้งยังมีการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นขณะรอทีมแพทย์มาช่วยเหลือ ข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง และข้อมูลการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินด้วย
          เลขาธิการ สพฉ. กล่าวต่อว่า สำหรับผู้บกพร่องทางการมองเห็น การแจ้งเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน ไม่ลำบากมากนักเพราะสามารถสื่อสารโทรแจ้งเหตุฉุกเฉินผ่านสายด่วน มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ669 ได้ตามปกติ แต่ที่สำคัญคือต้องผู้แจ้งจะต้องจดจำคือข้อควรรู้ 9 ข้อ ก่อนแจ้งเหตุฉุกเฉินให้ได้ คือ มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ.ตั้งสติ และโทรแจ้งสายด่วน มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ669 ผู้บกพร่องทางการได้ยิน.ให้ข้อมูลลักษณะเหตุการณ์ ว่าเกิดอุบัติเหตุอะไร หรือเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินในลักษณะใด
3.บอกสถานที่เกิดเหตุ 4.บอกเพศ อายุ จำนวนผู้บาดเจ็บ 5.บอกระดับความรู้สึกตัวของผู้บาดเจ็บ 6.บอกความเสี่ยงซ้ำ 7. แจ้งชื่อและเบอร์ติดต่อกลับ 8.ช่วยเหลือตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ และ 9.รอชุดปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินมารับผู้ป่วยเพื่อนำส่งโรงพยาบาล 
          สำหรับข้อมูลคนพิการในขณะนี้ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ได้สรุปข้อมูลคนพิการล่าสุดว่ามีจำนวนทั้งสิ้นมูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ,6สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ6,9มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ9 คน แบ่งเป็น เพศชาย 86มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ,85ผู้บกพร่องทางการได้ยิน คน และเพศหญิง 745,สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ67 คน
 
 

ข่าวสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ+มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการวันนี้

สพฉ.พัฒนาระบบแจ้งเหตุป่วยฉุกเฉินสำหรับผู้พิการทางการได้ยิน ผ่านแอพพลิเคชั่น TTRS Video ลดข้อจำกัดการสื่อสาร เปิด 19 จังหวัดนำร่องพร้อมให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง

รอ.นพ.อัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กล่าวว่า จากสถิติข้อมูลคนพิการในปัจจุบันของประเทศไทย มีสูงถึง 1,606,919 คน แบ่งเป็น เพศชาย 861,852 คน และเพศหญิง 745,067 ทำให้ สพฉ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหาทางพัฒนาระบบในการช่วยเหลือผู้พิการ หากต้องประสบกับภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน โดยเฉพาะผู้บกพร่องทางการได้ยิน จัดเป็น กลุ่มผู้บกพร่องที่เข้าถึงการช่วยเหลือฉุกเฉินต่างๆ ได้ยากที่สุด สพฉ. จึงได้ร่วมมือกับ มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ ศูนย์ TTRS และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแอปพลิเคชั่น

บริษัท บางจาก ศรีราชา จำกัด (มหาชน) หรือ ... BSRC รับมอบเข็มเชิดชูเกียรติ ประจำปี 2567 จากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ — บริษัท บางจาก ศรีราชา จำกัด (มหาชน) หรือ BSRC รับมอบเข็มเชิดชูเกียรติ ประเภทส...

วันที่ 18 ธันวาคม 2566 กาญจนา เรืองสิริวิ... การประชุมวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินระดับนานาชาติ ครั้งที่ 15 ประจำปี 2566 — วันที่ 18 ธันวาคม 2566 กาญจนา เรืองสิริวิชญกุล ผู้จัดการทั่วไป โรงแรมเซ็นทรา บาย เ...

ศูนย์กิจกรรมพัฒนานักศึกษาและชุมชนสัมพันธ์... SPU พัฒนาศักยภาพคณาจารย์และนักศึกษา เรียนรู้ CPR ด้วยเครื่องกระตุ้นหัวใจ AED มุ่งช่วยเหลือสังคม — ศูนย์กิจกรรมพัฒนานักศึกษาและชุมชนสัมพันธ์ ร่วมมือกับ ศูน...

นายพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ซ้าย) ผู้ช่วยเล... มูลนิธิกรุงศรีมอบเงิน 1 ล้านบาทแก่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน หนุนยกระดับปฏิบัติการสู่ดิจิทัล — นายพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ซ้าย) ผู้ช่วยเลขานุการมูลนิธิกรุงศรี ม...