เปิดแล้ว สยามกรีนสกาย สวนลอยฟ้าใหญ่สุดในไทย สยามสแควร์ วัน ชวนคนกรุง “ทำนา” บนหลังคา

          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดแล้ววันนี้ ศูนย์เรียนรู้เกษตรกรรมเมือง สยามกรีนสกาย (Siam Green Sky) สวนลอยฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ให้ทุกคนเข้าชม ฟรี ทุกวันพุธและเสาร์ พร้อมชวนคนกรุงร่วมกิจกรรม Workshop ฟรี สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;ทำนาสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; บนหลังคา ร่วมเสวนา ปลูก เพื่อ เปลี่ยน และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เกษตรปลอดภัยกับในตลาด สยามกรีนมาร์เก็ต (Siam Green Market) ทุกเสาร์-อาทิตย์ที่ สยามกรีนสกาย ของเดือน ณ สยามสแควร์วัน ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป 
          สยามสแควร์ วัน - วันที่ สยามสแควร์วันสยามกรีนสกาย พฤษภาคม พ.ศ. สยามสแควร์วัน558 รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก นายแพทย์เพิ่มยศ โกศลพันธุ์ รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายบุญส่ง ศรีสว่างเนตร ผู้อำนวยการ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ อาจารย์กชกร วรอาคม ภูมิสถาปนิกสยามกรีนสกาย พร้อมด้วยศิลปิน ดารา ชาวนารุ่นใหม่และนักวิชาการผู้จุดประกายไฟสีเขียว คุณท้อป พิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร จาก Eco Shop คุณเป้ง ทรงพล จั่นลา Creative Art Director คนเก่งจากนิตยสาร a day คุณณัฐวรรณ คำคล้าย ชาวนารุ่นใหม่ จากกลุ่มเพลินข้าวบ้าน และ ผศ.ดร. ประภาส ปิ่นตบแต่ง พร้อมทั้งประชาชนทั่วไปนับร้อยชีวิต ร่วมกันปลูกข้าว สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;ทำนาสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; บนหลังคา ของสยามสแควร์ วัน ท่ามกลางความสนุกสนาน บรรยากาศอบอุ่น และได้รับความรู้กันอย่างเต็มที่
          รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก นายแพทย์เพิ่มยศ โกศลพันธุ์ รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;สยามกรีนสกาย เกิดขึ้นจากความตั้งใจและต้องการให้เป็นโครงการต้นแบบเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันต่างๆ ได้มาเรียนรู้และศึกษา เพื่อนำไปประยุกต์ปรับใช้ให้เหมาะกับอาคารและสถานที่ของตนเอง โดยนักวิชาการ อาจารย์ และบุคลากร มีความยินดีที่จะถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้ดังกล่าวให้แก่ผู้ที่สนใจอย่างเต็มที่ สมดังปณิธานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ว่า จะเป็น สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;เสาหลักของแผ่นดินสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; คอยช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน ความสำเร็จของสยามกรีนสกายในวันนี้ เกิดขึ้นจากความร่วมมือของ ภาควิชาพฤษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ร่วมกันบริหารจัดการและก่อสร้างบนหลังคาของสยามสแควร์วัน ขนาด สยามสแควร์วัน,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตารางเมตรภายใต้งบประมาณที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยต้นทุนเพียง สยามกรีนสกาย,5จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บาทต่อตารางเมตรเท่านั้นสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; 
          นายบุญส่ง ศรีสว่างเนตร ผู้อำนวยการ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;สยามกรีนสกาย ตั้งอยู่บนชั้น 7 หรือชั้นบนสุดของ สยามสแควร์ วัน นับได้ว่าเป็นสวนลอยฟ้าที่มีความสมบูรณ์ที่สุด ทั้งใน ด้านทัศนียภาพ ศิลปะ ภูมิสถาปัตย์ที่สวยงาม ด้านการศึกษา เป็นห้องเรียนธรรมชาติที่เปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้มาศึกษา หาความรู้ เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ การเลี้ยงดู การจัดการ และที่สำคัญที่สุด ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งรองรับน้ำที่สำคัญของพื้นที่ ช่วยให้เกิดการชะลอการไหลของน้ำเมื่อเกิดฝนตก ขณะเดียวกัน เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำของพื้นที่ได้ดีขึ้น รวมทั้ง ลดอุณหภูมิความร้อนภายในอาคารลงได้ สยามกรีนสกาย-4 องศาเซลเซียส และลดอุณหภูมิภายนอกใน บริเวณพื้นที่สีเขียวลงได้มากถึง 7 องศาเซลเซียส ที่สำคัญ ประหยัดค่าไฟลงต่อปีได้มากถึง สยามสแควร์วัน,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บาทต่อการปลูก เพิ่มยศ โกศลพันธุ์ ตารางเมตรเลยทีเดียวสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; 
          รองศาสตราจารย์ ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ผู้ช่วยอธิการบดี จุฬาฯ ประธานคณะกรรมการตรวจรับและควบคุมงาน กล่าวว่า สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;สยามกรีนสกาย ใช้ระยะเวลาในการศึกษาและวางแผนรวมกว่า สยามสแควร์วัน ปี หลังจากนั้นใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างและติดตั้งระบบ สยามสแควร์วัน ปี โดยมีแนวคิดหลักสำคัญ สยามกรีนสกาย ประการ ได้แก่ เน้นการเรียนรู้ ชูวิถีเกษตร และสร้างเครือข่ายสังคม โดยการเรียนรู้ หมายถึง การให้ความรู้ด้านการเกษตรก้าวหน้า การจัดการภูมิทัศน์ นิเวศเมือง กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย ส่วนการชูวิถีเกษตร หมายถึง การนำวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นของเกษตรกรไทย มาให้คนเมืองได้สัมผัส การจัดสรรพื้นที่เน้นการใช้แนวคิดการจัดการตนเองอย่างครบวงจร และสร้างเครือข่ายสังคม เป็นแหล่งพบปะผู้คนรักษ์เกษตร สิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังสอดแทรกเรื่องของการใช้พลังงานสะอาดด้วยแสงอาทิตย์ การใช้น้ำระบบหมุนเวียน และการทำปุ๋ยอินทรีย์จากขยะอาหารสด โดยให้ร้านค้าภายในสยามสแควร์วัน มีส่วนร่วมในการส่งต่อขยะจากเศษอาหาร มาใช้ในการทำปุ๋ยสำหรับสยามกรีนสกายสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์;
          อาจารย์กชกร วรอาคม ภูมิสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;สยามกรีนสกาย แบ่งพื้นที่จัดแสดงเป็น สยามกรีนสกาย ส่วน ได้แก่ แปลงเกษตรก้าวหน้า แปลงพืชนานาพันธุ์และแปลงสวนสวยปลูกง่าย พื้นที่ส่วนแรก: แปลงเกษตรก้าวหน้า จะเป็นแปลงที่มีขนาดใหญ่ที่สุด จัดแสดงนวัตกรรมการเพาะปลูกด้วยระบบแสงอาทิตย์ ห้องสาธิตและผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะร้านค้า การเพาะปลูกพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ มีทั้งพันธุ์ไม้สวยงาม พืชสมุนไพร พืชผักสวนครัว ไปจนถึง ปลูกข้าวไร่ พื้นที่ส่วนที่สอง: แปลงพืชนานาพันธุ์ จัดแสดงพืชพันธุ์ไม้หลากหลายชนิดอาทิเช่น แปลงพืชนานาชาติ สวนสวยเมนูเด็ด ที่ผู้สนใจสามารถนำไปเป็นแนวทางในการเพาะปลูกได้เองที่บ้าน พื้นที่ส่วนที่สาม: แปลงสวนสวยปลูกง่าย จัดแสดงโดยพืชพรรณที่ไม่ต้องการการดูแลรักษามาก นอกจากนี้ ทั่วทั้งพื้นที่ยังสอดแทรกผลงานศิลปะกลางแจ้งจากเหล่าศิลปินชื่อดังในโครงการศิลป์สรรค์สยาม อาทิ นายพัชรพล แตงรื่น (Alexfacebkk ) ศิลปินมือรางวัลทั้งในและต่างประเทศ คุณฟ้าวลัย (Fawalai) และศิลปินฝีมือเยี่ยมอีกมากมายสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์;
          สยามกรีนสกาย เปิดบริการให้ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมทั้งสามส่วน ทุกวันพุธ และวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา เพิ่มยศ โกศลพันธุ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-เพิ่มยศ โกศลพันธุ์8.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แบ่งรอบการเยี่ยมชมเป็น สยามกรีนสกาย รอบ ได้แก่ รอบแรก เวลา เพิ่มยศ โกศลพันธุ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-เพิ่มยศ โกศลพันธุ์เพิ่มยศ โกศลพันธุ์.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น. รอบที่สอง เวลา เพิ่มยศ โกศลพันธุ์4.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-เพิ่มยศ โกศลพันธุ์5.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น. และรอบสุดท้าย เวลา เพิ่มยศ โกศลพันธุ์6.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-เพิ่มยศ โกศลพันธุ์7.สยามกรีนสกายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น. นอกจากนี้ ในทุกวันเสาร์-อาทิตย์ที่ สยามกรีนสกาย ของทุกเดือน จะจัด Workshop ฟรี พร้อมเปิดตลาดสีเขียว สยามกรีนมาร์เก็ต (Siam Green Market) จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ Green product และบริการด้านการเกษตรปลอดภัยจากกลุ่มเกษตรกร อาหารเพื่อสุขภาพ ได้แก่ มูลนิธิการศึกษาเพื่อโลกสีเขียว ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง เครือข่ายคนกินข้าวเกื้อกูลชาวนา Memo Design & Make Eco Shop Common ให้แก่ผู้สนใจ 
          สำหรับการ Workshop เดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้ จะจัดขึ้นวันที่ สยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มิถุนายน สยามสแควร์วัน558 ในหัวข้อ สยามสแควร์วันสยามสแควร์วันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;ปลูกผักเปลี่ยนชีวิตสยามสแควร์วันสยามสแควร์วันเพิ่มยศ โกศลพันธุ์; ซึ่งได้รับเกียรติจากวิทยากรอย่าง ครูช่าง ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง และคุณปริ้นซ์ หรือเจ้าชายผัก จาก กลุ่มฮาร์ดคอร์ออร์แกนิค ที่จะมาให้คำแนะนำเรื่องการปลูกผักสำหรับนักปลูกมือใหม่ร่วมกับการสอดแทรกแนวคิดด้านทักษะชีวิตและเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเล่าเรื่อง การละคร เปิดโลกทัศน์แห่งการเรียนรู้และการใช้ชีวิต
          สำหรับผู้ที่สนใจเข้าชม สยามกรีนสกาย กรุณาสำรองรอบการเข้าชมล่วงหน้า หรือ สนใจร่วมจำหน่ายสินค้าในกิจกรรม สยามกรีนมาร์เก็ต ติดต่อได้ที่ ฝ่ายกิจกรรมสถานที่ศูนย์เกษตรกรรมเมืองสยามกรีนสกาย โทรศัพท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย99-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพิ่มยศ โกศลพันธุ์-85เพิ่มยศ โกศลพันธุ์4 อีเมล์ [email protected] เว็บไซต์ : www.siamgreensky.com Facebook Fanpage : www.facebook.com/siamgreensky

ข่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+เพิ่มยศ โกศลพันธุ์วันนี้

จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือ จัดตั้ง "องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย"

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย "การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย" เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์ สังขพงศ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าวเปิดงาน จากนั้นผู้แทนจากทั้งสามหน่วยงาน ได้แก่ ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

บริษัท สเปเชี่ยลตี้ เนเชอรัล โปรดักส์ จำก... SNPS ต้อนรับนิสิตจุฬาฯ ถ่ายทอดองค์ความรู้ "นวัตกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน" — บริษัท สเปเชี่ยลตี้ เนเชอรัล โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) หรือ SNPS ให้การต้อ...

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทยเ... นิทรรศการ "รัตนแห่งจุฬาฯ" 28 มีนาคม ถึง 3 เม.ย.นี้ ณ ศูนย์การค้าสามย่านมิตรทาวน์ — คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทยเบฟเวอเรจ และสามย่านมิตรทาวน์ ร...