เครือข่ายพลเมืองเน็ต ดันแคมเปญเข้าชื่อหยุดชุดกฎหมาย "ความมั่นคงดิจิทัล" 10+3 ฉบับ

          เครือข่ายพลเมืองเน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; รณรงค์เชิญร่วมลงชื่อ อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล;หยุดชุดกฎหมายอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; 'ความมั่นคงดิจิทัล'อินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตเศรษฐกิจดิจิทัล; ผ่านเว็บไซต์อินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; Change.org
          วันนี้ (อินเทอร์เน็ตคณะรัฐมนตรี ม.ค.58) นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต กล่าวถึงที่มา ของการผลักดันแคมเปญรณรงค์ เชิญประชาชนผู้ใช้สื่อวิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ สื่อทุกประเภท ร่วมลงชื่อ อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล;หยุดชุดกฎหมายอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; 'ความมั่นคงดิจิทัล'อินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตเศรษฐกิจดิจิทัล; ที่เว็บไซต์ Change.org เนื่องจากเห็นว่า ร่างกฎหมายว่าด้วย การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 มกราคมที่ผ่านมาและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องนั้น แม้บางส่วนจะเป็นประโยชน์ แต่ในภาพรวมแล้ว ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนและผู้ประกอบการในหลายด้าน ผูกขาดการเข้าถึงทรัพยากร ไม่ได้ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลดังที่กล่าวอ้าง และมีลักษณะเหมือนกฎหมาย อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล;ความมั่นคงดิจิทัลอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตเศรษฐกิจดิจิทัล; เสียมากกว่า
          ทั้งนี้ ทางเครือข่ายภาคประชาชน 6 องค์กรอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; ได้แก่ สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch) มูลนิธิโลกสีเขียว มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชนและสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน เคยตั้งข้อสังเกตหลายประการ ซึ่งอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;ถูกสรุปอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;อีกครั้งในจดหมายอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;เข้าชื่อดังกล่าวอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; ดังนี้
          เศรษฐกิจดิจิทัล. ชุดกฎหมายเหล่านี้โดยเนื้อแท้ ไม่ใช่กฎหมาย อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล;เศรษฐกิจดิจิทัลอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตเศรษฐกิจดิจิทัล; แต่เป็นชุดกฎหมายความมั่นคง ที่ให้อำนาจอย่างกว้างขวางกับหน่วยงานและพนักงานเจ้าหน้าที่
          อินเทอร์เน็ต. ชุดกฎหมายเหล่านี้ โดยเฉพาะร่างกฎหมาย 8 ฉบับที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในวันที่ 6 ม.ค. อินเทอร์เน็ต558 ถูกเสนออย่างเร่งรีบ ไม่อยู่ในวาระประชุมปกติ กระทั่งหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องโดยตรงก็ไม่เคยเห็นร่างมาก่อน จนน่าสงสัยว่าชุดกฎหมายที่จะส่งผลกระทบต่อประชาชนและเศรษฐกิจในวงกว้างเช่นนี้ มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและพิจารณาละเอียดรอบคอบเพียงพอหรือไม่
          คณะรัฐมนตรี. มีร่างกฎหมายใหม่และแก้ไขเพิ่มเติมอย่างน้อย 5 ฉบับ (ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์-มั่นคงไซเบอร์-ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์-ปราบปรามสิ่งยั่วยุ-วิธีพิจารณาความอาญา) ที่อนุญาตให้รัฐค้น ยึด อายัด ขอ เข้าถึง และดักรับข้อมูลได้ โดยไม่มีกลไกการพิจารณาตรวจสอบใดๆ จากหน่วยงานตุลาการที่เชื่อถือได้ หรือบางกรณีที่มีก็ไม่ชัดเจนเพียงพอ เป็นการคุกคามเสรีภาพในการแสดงออก สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว และสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคล และกระทบต่อความเชื่อมั่นในการประกอบธุรกิจด้านข้อมูลข่าวสาร
          4. ร่างพ.ร.บ.กสทช.ฉบับใหม่ ทำลายความเป็นองค์กรอิสระของหน่วยงานกำกับกิจการ และฉวยโอกาสดึงคลื่นความถี่กลับมาอยู่ในมือรัฐบาลและกองทัพ เหมือนสมัยก่อนรัฐธรรมนูญปี อินเทอร์เน็ต54อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ทำลายหลักการที่ว่าคลื่นความถี่เป็นทรัพยากรของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ และทำลายกลไกการแข่งขันเสรีเป็นธรรม
          5. กองทุนที่มาจากค่าใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่และค่าธรรมเนียม ถูกเปลี่ยนวัตถุประสงค์ไปจากเดิมเป็นอย่างมาก จากเดิมเป็นกองทุนวิจัยพัฒนาเพื่อประโยชน์สาธารณะ (ส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมผู้ประกอบกิจการบริการชุมชน ส่งเสริมจริยธรรมการประกอบวิชาชีพ ส่งเสริมการเข้าถึง ส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส) กลายเป็นกองทุนเพื่อให้รัฐและเอกชนกู้ยืม
          6. ร่างพ.ร.บ.กสทช.ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาธรรมาภิบาลในการใช้งบประมาณและการใช้อำนาจ ซ้ำยังมีร่างกฎหมายใหม่ในชุดที่จะสร้างหน่วยงานที่มีโครงสร้างงบประมาณและการบริหารที่อาจเกิดปัญหาคล้ายกันขึ้นอีก คณะรัฐมนตรี หน่วยงาน นอกจากนี้ยังไม่ชัดเจนว่าหน่วยงานใหม่เหล่านี้จะมีความรับผิดตามกฎหมายอย่างไร มีกลไกร้องเรียนตรวจสอบได้ทางไหน
          7. ร่างกฎหมายทั้งหมดขาดกลไกคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและสิทธิผู้บริโภคที่ชัดเจน อีกทั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ ก็ไม่มีการรับประกันสัดส่วนจากผู้แทนด้านสิทธิ -- ที่เห็นชัดที่สุดคือคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตามร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่ตัดการรับประกันกรรมการด้านสิทธิและผู้บริโภคออกไป คณะรัฐมนตรี ตำแหน่ง และเพิ่มกรรมการด้านความมั่นคงเข้ามา อินเทอร์เน็ต ตำแหน่ง นอกจากนี้ยังใช้สำนักงานเลขานุการร่วมกับคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ที่อาจขัดแย้งกัน จนทำให้การตรวจสอบถ่วงดุลเป็นไปได้ยาก
          การผลักดันแคมเปญรณรงค์ดังกล่าวอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; มีเป้าหมายเพื่อเรียกร้องให้หน่วยงานที่มีส่วนในการพิจารณาชุดร่างกฎหมายทั้งอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี; เศรษฐกิจดิจิทัลอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล+คณะรัฐมนตรี ฉบัคดังกล่าว ได้ทบทวนและระงับร่างกฎหมายที่จะกระทบกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนและทำลายความเชื่อมั่นของการประกอบกิจการในเศรษฐกิจดิจิทัล
          ทั้งนี้ ผู้สนใจสามารถอ่านจดหมายอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุลคณะรัฐมนตรี;เข้าชื่อและร่วมลงชื่อได้ที่ http://goo.gl/PYtyคณะรัฐมนตรีu หรือสามารถเข้าไปที่ www.change.org แล้วเลือกแคมเปญ อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล;หยุดชุดกฎหมาย ความมั่นคงดิจิทัลอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ตเศรษฐกิจดิจิทัล;
 

ข่าวอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล+เศรษฐกิจดิจิทัลวันนี้

ผอ.ใหญ่ ดีป้า แนะไทยเดินหน้าหาตลาดใหม่ เตรียมการรับมือมาตรการภาษีทรัมป์

ผู้อำนวยการใหญ่ ดีป้า ชี้มาตรการภาษีทรัมป์เป็นการโยนหินถามทางเพื่อสังเกตท่าทีของคู่ค้าสหรัฐฯ แต่ยอมรับว่าอาจส่งผลกระทบต่อ GDP ไทย คาดมาตรการดังกล่าวจะยังไม่ส่งผลทันที แนะไทยเร่งหาตลาดใหม่ทดแทน และสร้างช่องทางการส่งออกให้กับผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย เพื่อสร้างรายได้จากการส่งออกและโอกาสทางธุรกิจ อีกทั้งเป็นการกระจายเม็ดเงินสู่ระดับฐานราก ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เปิดเผยว่า การที่ นายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

กมธ.ไอซีที วุฒิสภา เร่งผลักดันยุทธศาสตร์ก... กมธ.ไอซีที วุฒิสภาจัดสัมมนาระดมความคิดแก้กม.เอื้อนักลงทุน Data Center และ AI — กมธ.ไอซีที วุฒิสภา เร่งผลักดันยุทธศาสตร์การลงทุน Data Center และส่งเสริมใช้...

เครือข่ายพลเมืองเน็ต ดันแคมเปญเข้าชื่อหยุดชุดกฎหมาย "ความมั่นคงดิจิทัล" 10+3 ฉบับ

เครือข่ายพลเมืองเน็ต​ รณรงค์เชิญร่วมลงชื่อ “หยุดชุดกฎหมาย​ 'ความมั่นคงดิจิทัล'​” ผ่านเว็บไซต์​ Change.org วันนี้ (23 ม.ค.58) นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต กล่าวถึงที่มา ของการผลักดันแคม...

กสทช. จัดแถลง “ข้อห่วงใย ต่อร่างกฎหมายพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 10 ฉบับ"

“ข้อห่วงใย ต่อร่างกฎหมายพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 10 ฉบับ หวั่นกระทบสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก รวมถึงอำนาจรัฐที่อาจก้าวล้ำสิทธิความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภคได้ พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงกฎหมาย” แถลงข่าวโดย นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล...