ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดโครงการศิลปกรรม VISUAL ART SHOW CASE ในรูปแบบของ ยังคงมีจุดยืนในการสร้างเวทีและกิจกรรมการทำงานร่วมกันระหว่างนักศึกษาทุกชั้นปีให้เกิดระบบการจัดการลักษณะเดียวกับการทำโครงการนิทรรศการของมืออาชีพ โดยจัดเป็นงานนิทรรศการศิลปะ นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ;เท่ากับนิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์; (=) และการเสวนาวิชาการ เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดวางทิศทาง ระบบการทำงาน ประสานงาน นิทรรศการและโปรแกรมการศึกษาด้วยตนเองทั้งหมด กำหนดจัดแสดงระหว่างวันที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์คณะศิลปกรรมศาสตร์-3คณะศิลปกรรมศาสตร์ ตุลาคม นิทรรศการศิลปะ557 ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต
นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ;=นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์;(เท่ากับ) เป็นเครื่องหมายหนึ่งที่แสดงออกถึงผลลัพธ์จากการคำนวณหรือเป็นสื่อกลางของสมการที่จะทำให้กระบวนการย้ายข้างของค่าทั้งสองข้างของมันเป็นเหตุเป็นผลและอยู่ในเงื่อนไขของความเป็นค่าที่เท่ากัน ในเชิงของกายภาพนิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ;=นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์;ประกอบด้วยเส้นแนวนอน(Line)สองเส้นที่เหมือนกัน เส้นทั้งสองถูกจัดวางในตำแหน่งบนและล่างอย่างเรียบง่ายแต่กลับแฝงความหมายอันละเอียดอ่อนไว้ อาจอุปมาไว้ว่า ในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ การตั้งประเด็นในการทำงานเปรียบเหมือนการตั้งโจทย์ทางคณิตศาสตร์ โดยผู้ที่สร้างสรรค์มีหน้าที่ที่จะต้องแทนค่าและแก้สมการเพื่อหาคำตอบ และคำตอบนั้นจะเป็นผลลัพธ์ที่สื่อสารออกมาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งผ่านทางกายภาพและระบบความคิด ซึ่งแน่นอนว่าอาจการแทนค่าในสมการดังกล่าว และขั้นตอนนี้จะดำเนินไปพร้อมกับเครื่องหมายนิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ;=นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์;ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวสะท้อนค่าความหมายเท่าเทียมกันของสองฟากฝั่ง เป็นการอธิบายจุดแรกเริ่มและปลายทางด้วยตรรกะ เหตุผล และเหตุผลเชิงจินตนาการ
นิทรรศการ นิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ;เท่ากับนิทรรศการศิลปะนิทรรศการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์; โดยนักศึกษาภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประกอบด้วยผลงานที่สร้างสรรค์ของนักศึกษาทุกชั้นปี ภายในนั้นมีความหลากหลายและอุดมไปด้วยความคิด ความรู้สึก เหตุผล และจินตนาการคุณค่าในงานศิลปะเหล่านั้นถูกแสดงออกมาด้วยสื่อในรูปแบบต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการเรียนรู้เชิงทักษะ ความช่ำชอง รวมไปถึงระบบวิธีคิดที่ถูกทบทวน รื้อ และประกอบสร้างขึ้นใหม่ ในขณะเดียวกันความหลากหลายของผลงานในนิทรรศการนี้ยังเป็นดั่งบทสนทนาที่กำลังพูดคุยถึงความเป็นศิลปะ ณ ปัจจุบันสมัยที่กำลังเป็นไปซึ่งผลลัพธ์ในสมการของนิทรรศการนี้จะมีค่า มีคุณค่า หรือเท่ากับสิ่งใด คำตอบและคำถามเหล่านั้นเป็นดุจดังสมการที่กำลังถือกำเนินและสร้างการก่อเรือนร่างขึ้นในทุกๆเสี้ยววินาที และเป็นโจทย์รอคอยให้ผู้สร้างสรรค์และผู้ชมร่วมกันสร้างบทสนทนาเพื่อแสวงหาคำตอบ โดยมีผลงานศิลปะเป็นภาษากลางในการสนทนา
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG) นำเสนอ 3 นิทรรศการโลกอุดมคติและโลกความจริง กับนิทรรศการ YOUTHOPIA การใฝ่ฝันถึงโลกอุดมคติอาจช่วยให้เราเห็นภาพความจริงชัดเจนกว่าเดิม นิทรรศการ THE TALE OF HUNGRY LAND บนเส้นทางสู่โลกอุดมคติ มักมีร่องรอยการต่อสู้ของผู้ถูกกดขี่ และนิทรรศการ INHERITANCE เพาะปลูกจินตนาการเพื่อเติบโตอย่างงดงามในโลกความจริง เข้าชมได้ตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2 กันยายน 2565 ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ชั้น 2 อาคาร C6 Main Campus (รังสิต) (เปิดให้บริการวันจันทร์ถึงวันศุกร์ตั้งแต่เวลา 9:00-17:00
นิทรรศการ #SURFACE 17 กุมภาพันธ์ - 8 พฤษภาคม 2563 หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG)
—
- ชั้น 2 อาคาร C6 (หอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Mai...
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพและคณะศิลปกรรมศาสตร์ ม.กรุงเทพ จัดแสดงนิทรรศการ "สืบสาน"
—
"...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ ...
นิทรรศการอัตตะ ลังเล โดย เล็ก เกียรติศิริขจร Detour of The Ego by Lek Kiatsirikajorn
—
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพร่วมมือกับสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประ...
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG) ขอเชิญชมนิทรรศการ "Golden Rules"
—
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG) ขอเชิญชมนิทรรศการ "Golden Rules" เนื่องด้วยหอศิลปฯ จัดนิท...
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG) ขอเชิญชมนิทรรศการ นิทรรศการThe Jungle of Form, Colour and Tempo
—
หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (BUG) ขอเชิญชมนิทรรศการชุดผลงานจ...
นิทรรศการศิลปะ “เท่ากับ” (=)
—
ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดโครงการศิลปกรรม VISUAL ART SHOW CASE ในรูปแบบของ ยังคงมีจุดยืน...