สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ

          จากแนวคิดการปฏิรูประบบวิจัย เพื่อเป้าหมายการนำความรู้สู่การใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพและการพัฒนาประเทศ ด้วยเเนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการงานวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จึงร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) จัดโครงการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;พัฒนาและจัดอบรมหลักสูตรนักจัดการงานวิจัยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ; ขึ้น โดยมีผู้บริหารระดับสูงจากองค์กรวิจัยระดับชาติและสถาบันการศึกษา อาทิเช่น ดร.นิลสุวรรณ ลีลารัศมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย จาก สกว. รศ.ดร.เจษฎ์ โทณวนิก ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ รวมทั้งผู้บริหารเเละตัวแทนจาก วช. สวทช. สวก ฯลฯ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่นักวิจัยที่เข้าร่วมกิจกรรมกว่า องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ6สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คน ระหว่างวันที่ องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ6-องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ8 กันยายน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย557 ณ โรงแรมมารวย การ์เดน
          ศ.นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยขาดแคลนบุคลากรด้านบริหารจัดการงานวิจัยแบบมืออาชีพ ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ที่จะมาจัดการงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้องค์ความรู้ไปสนับสนุนการพัฒนาประเทศ ดังนั้น การปฏิรูประบบวิจัยในเรื่องของการพัฒนาบุคลากรจึงเป็นประเด็นที่สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญ โดยได้ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) จัดให้มีโครงการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;พัฒนาและจัดอบรมหลักสูตรนักจัดการงานวิจัยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ; ขึ้น เพื่อพัฒนาความรู้และสมรรถนะของผู้จัดการงานวิจัย
          สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;โจทย์สำคัญคือ บุคลากรที่จะมาทำหน้าที่ในการบริหารจัดการงานวิจัย จะต้องเข้าใจและมีความรู้กว้างขวางครอบคลุมทุกกระบวนการตั้งแต่ความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อการเริ่มต้นในการพัฒนาโจทย์วิจัย จนถึงความรู้หรือองค์ประกอบสำคัญเกี่ยวข้องกับกระบวนการนำวิจัยไปใช้ประโยชน์เมื่อสิ้นสุดงานวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจะเป็นส่วนสำคัญของการผลักดันงานวิจัยให้สู่เป้าหมาย รวมทั้งทักษะความสามารถในการดำเนินการจัดการงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ตอบเป้าหมายของแหล่งทุนวิจัยและความต้องการของประเทศสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ; ผอ.สวรส. กล่าว
          พญ.วัชรา ริ้วไพบูลย์ ผู้จัดการแผนงานวิจัย สวรส. กล่าวว่า กระบวนและองค์ความรู้สำคัญๆในการบริหารจัดการงานวิจัยอย่างมืออาชีพได้ถูกออกแบบเละรวบรวมไว้ในหลักสูตร ครอบคลุมกระบวนการก่อนทำวิจัย เช่น การกำหนดประเด็น โจทย์การวิจัย เป้าหมายการใช้ประโยชน์ กระบวนการระหว่างทำวิจัย เช่น การกำกับติดตามความก้าวหน้า การสื่อสารกับผู้ใช้ผลงานวิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย และกระบวนการหลังการทำวิจัย เช่น การจัดเวทีนำเสนอผลงานวิจัย เพื่อใช้ประโยชน์งานวิจัย การย่อยผลงานเพื่อการสื่อสารสาธารณะ และการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงระบบหรือนโยบาย เป็นต้น
          ทั้งนี้ เนื้อหาสำคัญๆ หลักสูตร เช่น การเขียนสรุปรายงานการวิจัย เทคนิคการคัดกรองข้อเสนอโครงการวิจัยและการคัดเลือกนักวิจัย ความจำเป็นที่ต้องมีการบริหารงานวิจัย การวิจัยกับการเอาไปใช้ประโยชน์จากหิ้งสู่ห้าง (Policy advocacy & Policy brief) ประสานอย่างไรได้ใจแหล่งทุน ประสบการณ์การบริหารจัดการงานวิจัย การบริหารข้อมูลโดยใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ จริยธรรมการวิจัยเละกฎระเบียบที่ควรรู้ การจดสิทธิบัตรและการนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การติดตามประเมินผลการวิจัย และการประกันคุณภาพงานวิจัย
          ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย รอง ผอ.ด้านยุทธศาสตร์วิจัยเชิงพื้นที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กล่าวว่า การจัดการงานวิจัยเป็นทักษะที่จำเป็นที่ต้องมีความเชี่ยวชาญ ซึ่งหากจะวัดการจัดการว่าดีหรือไม่อย่างไรนั้น สามารถดูได้จากผลลัพธ์ของงานวิจัยที่เกิดขึ้นว่าสามารถนำใช้ประโยชน์หรือตอบปัญหาได้ตรงกับความต้องการกับผู้ใช้งานหรือประเทศได้อย่างไร ทั้งนี้ปัญหาอย่างหนึ่งที่พบในผู้จัดการงานวิจัยส่วนใหญ่ คือ ไม่สามารถจัดการผลงานวิจัยได้ถึงขั้นที่ควรจะเป็น
          สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;เรื่องนี้ยากที่จะหาคำตอบว่าจุดอ่อนอยู่ตรงไหน เสมือนการถามว่าเด็กเรียนเก่งหรือไม่เก่ง อยู่ที่ครูหรือเพราะตัวเด็กเอง ซึ่งสามารถมองได้สองด้าน แต่ทั้งนี้หากยึดหลักในการบริหารจัดการงานวิจัยที่ดี เช่น การพัฒนาโจทย์วิจัยจะต้องนำมาตอบปัญหาของประเทศได้ การเข้าใจปัญหาเพื่อพัฒนากรอบประเด็นวิจัยของชุดโครงการหรือพัฒนา Proposal ที่มีคุณภาพ มีทีมนักวิจัยที่เหมาะสม การใช้เวทีประชุมเป็นเครื่องมือ การคำนึงถึงผู้ใช้งาน การสังเคราะห์โจทย์ที่แหลมคม เหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญซึ่งจะทำให้โครงการวิจัยมีโอกาสสำเร็จสูงขึ้นสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ; ดร.สีลาภรณ์ กล่าว
          ทางด้าน ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ รอง ผอ.ฝ่ายบริหาร สวรส. กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัจจุบันสัดส่วนนักวิจัย/ผู้จัดการงานวิจัยในประเทศไทยมีเฉลี่ย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ,สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คนต่อประชากร ซึ่งถือว่าน้อยมากสำหรับระบบ ที่ผ่านมา สวรส. มีความพยายามในการสร้างคนทำงานวิจัยและนักบริหารจัดการงานวิจัยป้อนเข้าสู่ระบบสุขภาพ เช่น ช่วงต้นปีที่ผ่านมา สวรส. ได้เริ่มจากการพัฒนาหลักสูตรนักวิจัยเขตสุขภาพ โดยร่วมกับคณะแพทย์ศาสตร์จุฬาฯ ซึ่งสามารถสร้างนักวิจัยที่มีความรู้จากการอบรมจำนวน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ราย ที่ขณะนี้ได้นำความรู้ไปใช้ดำเนินการวิจัย โดยอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยปัญหาสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่คาดว่าในต้นปี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย558 จะสามารถผลิตผลงานวิจัยจากพื้นที่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเขตบริการสุขภาพ และมานำเสนอต่อผู้กำหนดนโยบายได้ต่อไป โดยหลักสูตรการพัฒนาและอบรมนักจัดการงานวิจัยในครั้งนี้ ก็เป็นอีกส่วนสำคัญหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนานักวิจัยที่จะเกิดประโยชน์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบสุขภาพต่อไปเช่นกัน
สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ
สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ
สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ
สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ
 


ข่าวสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ+องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติวันนี้

แจงกรอบวิจัยปีงบ 61 มุ่ง เดินหน้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 หนุนเครือข่ายรัฐ-เอกชน พัฒนาสังคมเศรษฐกิจมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

ในการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2561 จัดโดยเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ประกอบด้วย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) (สพภ.) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ร่วมกับมหาวิทยาลั... ราชภัฏพระนครจับมือเครือข่ายวิชาการและงานวิจัยจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ I-SEEC 2017 — มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิ...

กยท. ร่วมประชุมคณะกรรมการกำกับแผนงานวิจัยฯ ดึงงานวิจัยยางชั้นเลิศ มอบทุนวิจัยต่อยอดการพัฒนา

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมหน่วยงาน 6 ส. ตั้ง "เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ" มุ่งส่งเสริม และสนับสนุนทุนแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ด้าน กยท. ร่วม สวก....

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ร่วมน... สวรส. โชว์ 6 ผลงานวิจัยเด่น ในมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559 — สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ร่วมนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรม เพื่อเชื่อมโยงบูรณาการองค์...

จากแนวคิดการปฏิรูประบบวิจัย เพื่อเป้าหมาย... สวรส. จับมือ วช. พัฒนานักจัดการงานวิจัยสู่ระบบ — จากแนวคิดการปฏิรูประบบวิจัย เพื่อเป้าหมายการนำความรู้สู่การใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพและการพัฒนาประเทศ ด้วย...

คอบช. จัดงานแถลงข่าวเรื่อง “ผลวิจัยโลจิสติกส์ของเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโครงการ 2 ล้านล้านบาท”

เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ร่วมกับ สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ...

สามองค์กรผู้นำระบบเฮลท์แคร์และเฮลท์เทคของ... วิศวะมหิดล รวมพลัง 3 องค์กร เดินหน้า เฟส 3 พัฒนาระบบโลจิสติกส์และ Big Data สาธารณสุขไทย — สามองค์กรผู้นำระบบเฮลท์แคร์และเฮลท์เทคของไทย ได้แก่ กระทรวงสาธาร...

นักวิจัย ม.มหิดล คว้ารางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2563 คิดค้นยาชีวภาพแอนติบอดีมนุษย์สำหรับรักษาโรคไข้เลือดออก

เมื่อเร็วๆ นี้ ศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์พงศ์ราม รามสูต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยแอนติบอดี และ หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์สังคมและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน...

เมื่อเร็วๆ นี้ นายนันทวัฒน์ ขยันกสิกรรม น... นศ.สาขาเคมีสวนสุนันทาคว้า “เหรียญทองแดง” งานวิจัยแห่งชาติ’62 — เมื่อเร็วๆ นี้ นายนันทวัฒน์ ขยันกสิกรรม นางสาวจิตตรา มาแสวง และนางสาวเกศินี ปาทา นักศึกษาชั...