กสอ. ผนึก 2 หน่วยงาน ดันไทยสู่นำด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอครบวงจรของโลก พร้อมจัดงานแสดงผ้าผืนครั้งแรก ตอบโจทย์ดีไซเนอร์ไทยทันเทรนด์แฟชั่นโลก 2015-2016

          กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) ผนึกกำลังยกระดับอุตสาหกรรมผ้าไทย เพื่อตอบโจทย์อุตสาหกรรมแฟชั่น สู่เป้าหมายประเทศชั้นนำของโลกด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอครบวงจร พร้อมจัดงาน ̶สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม;แฟชั่น แฟบริค เน็ตเวิร์ก 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4̶สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ; (Fashion Fabric Network 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4) งานแสดงผ้าผืนครั้งแรกในประเทศไทย ภายใต้โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย หวังเทียบชั้นงานแสดงผ้าผืนระดับโลก พรีเมียร์ วิช๊อง (Premiere Vision) ของฝรั่งเศส เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตผ้าผืนให้เชื่อมโยงความต้องการของผู้ผลิตเสื้อผ้าแฟชั่นแบรนด์ชั้นนำในประเทศได้ โดยไม่ต้องนำเข้าผ้าผืนจากต่างประเทศ ตั้งเป้ายกระดับอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยสู่ศูนย์รวมการออกแบบแฟชั่นของอาเซียน โดยงานดังกล่าว ประกอบด้วย กิจกรรมต่างๆ ได้แก่ โซนจัดแสดงผ้าผืนของผู้เข้าร่วมโครงการ โซนนิทรรศการผ้าผืนสำหรับ Autumn 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5 / Winter 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ6 โซนสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับเทรนด์แฟชั่น และโซน เจรจาธุรกิจ โดยมีแบรนด์แฟชั่นชั้นนำเข้าร่วมงานจำนวนมาก อาทิ ดีเอพีพี (DA+PP) เกรย์ฮาว (Greyhound) อิชชู(Issue) ยัสปาล (Jaspal) บลู คอนเนอร์ ซึ่งคาดว่างานดังกล่าวจะสามารถสร้างภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทยให้ทั่วโลกทราบว่าประเทศไทยสามารถผลิตได้ครบวงจรและสนองต่อความต้องการลูกค้าได้ครบถ้วน โดยงานจัดขึ้นตั้งแต่วันนี้ถึง 2สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องแกลอรี่ 2 ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center - TCDC) มีผู้เข้าร่วมงานไม่ต่ำกว่า สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ,5สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม คน สำหรับผู้ประกอบการ และนักออกแบบ ตลอดจนประชาชนทั่วไปที่สนใจ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฝ่ายพัฒนาพื้นฐานธุรกิจ มธ.ศูนย์รังสิต คลองหลวง ปทุมธานี โทรศัพท์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม2-564-4สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ต่อ 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ2,2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5, สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม82-45สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม-2626, สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม82-45สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม-2623 ติดต่อคุณสุกัญญา หรือ คุณพนิดา หรือสอบถามที่ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ฝ่ายข้อมูลสิ่งทอ ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ โทรศัพท์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 27สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ3 5492 Rสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ; 9 ต่อ 74สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 79สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 732 ติดต่อ คุณทรรศนีย์ คุณรัฐพล คุณณัฐวดี หรือเข้าไปที่ เว็บไซต์ www.thaitextile.org//ffn2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4
          นายประดิษฐ์ รัตนวิจิตราศิลป์ รองผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล่าวว่า อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของไทย เนื่องจากก่อให้เกิดการจ้างงาน และสร้างรายได้เข้าประเทศต่อปีจำนวนมาก โดยเฉพาะผ้าผืน ที่มีมูลค่าการส่งออกกว่า สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ,สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ8.62 ล้านเหรียญสหรัฐ (ม.ค. Rสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ; ก.ย. 57) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ9.6สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ของตลาดส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทย โดยตลาดส่งออกผ้าผืนหลักของไทย ได้แก่ จีน เวียดนาม ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แม้มูลค่าการส่งออกผ้าผืนของไทยจะมีมูลค่าสูง แต่หากในระดับโลกแล้ว ในปี 2556 ไทยมีส่วนแบ่งการตลาดเพียงร้อยละ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.42 เท่านั้น (ที่มา :สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ และ Trade Map, 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ3) ซึ่งผ้าผืนของไทยที่ส่งออกมักนำไปใช้ผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปที่คุณภาพไม่สูง อีกทั้งความต้องการใช้ผ้าผืนเพื่อการผลิตและแปรรูปเป็นเสื้อผ้าแฟชั่นภายในประเทศกลับยังไม่มากเท่าที่ควร ขณะที่ปัจจุบันมีแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นใหม่ๆ จากดีไซเนอร์ฝีมือดีในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่อุตสาหกรรมผ้าผืนของไทยกลับไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของดีไซเนอร์ได้ ผ้าผืนไทยจึงมักไม่ถูกเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งของเสื้อผ้าแฟชั่นจากแบรนด์ชั้นนำ ทั้งนี้ ผ้าผืนไทยยังคงประสบปัญหาในหลายด้าน ตัวอย่างเช่น ผู้ผลิตผ้าผืนในไทยยังคงผลิตตามความต้องการของตนเองเป็นหลัก มิได้คำนึงถึงเทรนด์แฟชั่น หรือความต้องการของตลาด อีกทั้งเส้นใยในการผลิตผ้าผืนมีความหลากหลายน้อย ขาดการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมต้นน้ำถึงปลายน้ำยังไม่เข้มแข็งเท่าที่ควร และการทำตลาดเชิงรุกยังไม่เพียงพอ ด้วยเหตุนี้ดีไซเนอร์ส่วนใหญ่จึงเลือกนำเข้าผ้าจากต่างประเทศที่มีคุณภาพและตอบโจทย์ความต้องการตามเทรนด์ได้มาใช้ในการผลิตสินค้าแฟชั่นมากกว่า
          นายประดิษฐ์ กล่าวต่อว่า อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นการพัฒนาและยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการผ้าผืนของไทย สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ รวมถึงการพัฒนาและวิจัยเพื่อการเพิ่มมูลค่าและยกระดับสิ่งทอไทย สู่เป้าหมายประเทศชั้นนำของโลกด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอครบวงจร จึงเดินหน้าพัฒนาโครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เพื่อให้บุคลากรในอุตสาหกรรมแฟชั่นมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของแนวโน้มแฟชั่น (Fashion Trend) และสามารถประยุกต์ในการผลิตสินค้าแฟชั่นให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของรูปแบบแฟชั่นที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้าผืนจะได้รับการคัดเลือกโดยใช้เกณฑ์ด้านความพร้อมของบุคลากร ประสบการณ์ในการทำการตลาด ความพร้อมด้านงบประมาณด้านการพัฒนาและการตลาด 5 ขั้นตอน ดังนี้ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. การเผยแพร่ผ้าผืน Highlight ไปยังกลุ่มเป้าหมาย 2,สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม คนผ่าน E-bulletin 2. นำเสนอและเจรจากับลูกค้าเครือข่ายธุรกิจ 4 กลุ่ม ได้แก่ การออกแบบและใช้เทคโนโลยีการพิมพ์แบบใหม่ เสื้อผ้าสำหรับสุภาพบุรุษ สตรี และชุดกีฬา 3. ร่วมประชุมความร่วมมือกับผู้ประกอบการแบรนด์แฟชั่นขนาดใหญ่ 4. ร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) กับผู้บริหารแบรนด์แฟชั่น ผู้ผลิตเครื่องนุ่งห่ม และผู้เชี่ยวชาญ และ 5. พัฒนาผ้าผืนให้สอดคล้องกับเทรนด์ Autumn 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5 และ Winter 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ6 
          นอกจากนี้ ผู้ประกอบการที่ผ่านการเข้าร่วมทุกขั้นตอนของโครงการฯ จะได้รับโอกาสในการนำผ้าผืนที่ได้รับการพัฒนาแล้วมาจัดแสดงในงาน แฟชั่น แฟบริค เน็ตเวิร์ก 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4 (Fashion Fabric Network 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4) งานแสดงผ้าผืนแฟชั่นและเจรจาธุรกิจ ปี 2557 ซึ่งเป็นการจัดแสดงผ้าผืนครั้งแรกในประเทศไทย ที่สถาบันฯสิ่งทอ กับสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)ร่วมกันจัดขึ้น โดยได้แรงบันดาลใจจากงานพรีเมียร์ วิช๊อง (Premiere Vision) ของฝรั่งเศส ซึ่งเป็นงานแสดงผ้าผืนระดับโลก โดยมุ่งหวังที่จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ผลิตผ้าผืน ผู้ผลิตเครื่องนุ่งห่ม และแบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น ตลอดจนสร้างภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทยให้ทั่วโลกทราบว่าประเทศไทยสามารถผลิตได้ครบวงจรและสนองต่อความต้องการลูกค้าได้ครบถ้วนทั้งด้านการผลิต การออกแบบและการบริการ นอกจากนี้ ยังสามารถลดการพึ่งพาวัตถุดิบผ้าผืนที่ทันสมัยจากต่างประเทศ โดยการสร้างมาตรฐานและมูลค่าเพิ่มให้แก่ผ้าผืนไทยเพื่อตอบโจทย์เทรนด์ในตลาดโลก ตั้งเป้ายกระดับอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยสู่ศูนย์รวมการออกแบบแฟชั่นของอาเซียน สำหรับกิจกรรมภายในงานจะประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่
          สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. Fabric Exhibition : ส่วนแสดงผ้าผืนคอลเลคชั่นใหม่สำหรับ เสื้อผ้าธุรกิจ เสื้อผ้าธุรกิจ ลำลอง ยีนส์ เดรส และดิจิทัลพริ้นท์ จาก 5สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ผ่านการคัดเลือกจากโครงการดังกล่าวแล้ว
          2. Trend Forum : ชมนิทรรศการการออกแบบผ้าผืนสำหรับฤดูกาล Autumn / Winter 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5/สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ6 ภายใต้แนวคิด แรงบันดาลใจที่จับต้องได้
          3. Trend Seminar : งานสัมมนาเทรนด์ผ้าผืนและการปรับใช้ในสินค้าแฟชั่น SS2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5 และ AW2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5/สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ6 โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการคัดสรรผ้าผืนให้เหมาะกับเทรนด์ต่างๆ
          4. Business Networking : การเจรจาธุรกิจเฉพาะกลุ่ม ตามประเภทของสินค้าแฟชั่น อาทิ New Printing Technology, Menswear Fabric, Active Sport Technology
          นายประดิษฐ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับเทรนด์สิ่งทอ Autumn 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5/ Winter 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ6 ที่กำลังได้รับความสนใจของดีไซเนอร์ทั่วโลกนั้น มีลักษณะพิเศษที่รูปลักษณ์ที่เห็นกับลักษณะการสัมผัสอาจขัดแย้งกันสิ้นเชิง เช่น ผ้าที่มีลักษณะคล้ายโลหะ แต่เมื่อสัมผัสกลับมีความอ่อนนุ่ม และน้ำหนักเบามาก รวมไปถึงผ้าที่มีการใช้วัสดุเทคโนโลยีขั้นสูงผลิตให้มีลักษณะเป็นงานฝีมือ หรือผ้าลายทอโบราณที่ตกแต่งด้วยลวดลายสลับซ้อนหลายชั้นจนดูหนาแต่กลับมีน้ำหนักเบา หรือผ้าที่คุณสมบัติด้านเทคนิคซ่อนอยู่สามารถสร้างความรู้สึกร่วมของการสัมผัสและการเห็น เช่น ผ้าขนสัตว์ ที่มีความละเอียดเนียนนุ่ม ใส่สบาย มีความเงางาม หากแต่แฝงไปด้วยความหรูหรา ทั้งนี้ โทนสีที่นิยมในฤดูกาลนี้ ได้แก่ คลาสสิค (Classic) ซึ่งมักเป็นกลุ่มโทนสี นู้ด (Nude) และ เอิร์ธโทน (Earth Tone) เช่น สีน้ำตาล สีเทา อย่างไรก็ตาม การออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูปจำเป็นต้องคำนึงถึงคือเทรนด์แฟชั่นในฤดูกาลถัดไป ดังนั้น ผู้ผลิตผ้าผืนจะต้องปรับตัวให้ทันกับกระแสแฟชั่นด้วยการผลิตผ้าผืนซึ่งเป็นวัตถุดิบของเสื้อผ้าแฟชั่นให้สอดคล้องกับเทรนด์แฟชั่นด้วยเช่นกัน
          อย่างไรก็ดี กิจกรรมดังกล่าวยังได้รับความร่วมมือจากดีไซเนอร์แบรนด์เสื้อผ้าชั้นนำของเมืองไทยมาเลือกซื้อเพื่อนำไปออกแบบและผลิตเสื้อผ้าภายใต้แบรนด์นั้นๆ อาทิ ดีเอพีพี (DA+PP) เกรย์ฮาว (Greyhound) ดิษยา (Disaya) โคลเซ็ท (Kloset) อิชชู(Issue) รวมทั้งแบรนด์ต่างชาติที่เป็นที่นิยมในประเทศ อาทิ ยัสปาล (Jaspal) บลู คอนเนอร์ (Blue Corner) และเอฟ แอนด์ เอฟ(F&F) เป็นต้น ซึ่งหากโครงการนี้ได้รับการตอบรับจากแบรนด์เสื้อผ้าของไทยด้วยดี คาดว่ามีโอกาสขยายกลุ่มเป้าหมายจากสินค้าระดับสตรีทมาร์เก็ต (Street Market) และไฮสตรีทมาร์เก็ต (High Street Market) ไปสู่ระดับสู่ระดับบน (High End Market) ได้ในอนาคต ทั้งนี้ งาน แฟชั่น แฟบริค เน็ตเวิร์ก 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4 จัดขึ้นตั้งแต่วันนี้ถึง 2สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องแกลอรี่ 2 ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center - TCDC) คาดว่าจะมีดีไซเนอร์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจงานด้านแฟชั่น เข้าร่วมงานไม่ต่ำกว่า สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ,5สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม คน นายประดิษฐ์ กล่าวสรุป
          สำหรับผู้ประกอบการ และนักออกแบบ ตลอดจนประชาชนทั่วไปที่สนใจ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฝ่ายพัฒนาพื้นฐานธุรกิจ มธ.ศูนย์รังสิต คลองหลวง ปทุมธานี โทรศัพท์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม2-564-4สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ต่อ 2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ2,2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ5, สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม82-45สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม-2626, สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม82-45สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม-2623 ติดต่อคุณสุกัญญา หรือ คุณพนิดา หรือสอบถามที่ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ฝ่ายข้อมูลสิ่งทอ ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ โทรศัพท์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 27สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ3 5492 Rสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ; 9 ต่อ 74สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 79สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 732 ติดต่อ คุณทรรศนีย์ คุณรัฐพล คุณณัฐวดี หรือเข้าไปที่ เว็บไซต์ www.thaitextile.org//ffn2สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ4

ข่าวสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม+สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอวันนี้

อก. เร่งดันผู้ประกอบการแปรรูปกัญชงสู่พาณิชย์รองรับ BCG Model

กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) โดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ผลักดันผู้ประกอบการแปรรูปกัญชงสู่พาณิชย์รองรับ BCG Model จัดประชุมสร้างความร่วมมือ "การพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปกัญชงสู่เชิงพาณิชย์" ร่วมกับ 3 สถาบันเครือข่าย สถาบันอาหาร (สอห.) สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สพว.) และสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (สสท.) ผลักดันกัญชง ให้ใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมอย่างเป็นรูปธรรม ภายหลังจากกฎหมายอนุญาตให้ผลิต นำเข้า ส่งออก หวังไทยเป็นผู้นำด้านการผลิตและส่งออกสินค้ากึ่งวัตถุดิบ

กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ จัดงานเปิดตัวโครงการพัฒนาผู้นำธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ปีงบประมาณ 2561

กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง...

งานเปิดตัวโครงการพัฒนาผู้นำธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ปีงบประมาณ 2561

กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และบริษัทกันตนากรุ๊ปจำกัด (มหาชน) จะจัดงานเปิดตัว โครงการพัฒนาผู้นำธุรกิจ...

กสอ. ผนึก 2 หน่วยงาน ดันไทยสู่นำด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอครบวงจรของโลก พร้อมจัดงานแสดงผ้าผืนครั้งแรก ตอบโจทย์ดีไซเนอร์ไทยทันเทรนด์แฟชั่นโลก 2015-2016

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) ผนึกกำลังยกระดับอุตสาหกรรมผ้าไทย เพื่อตอบโจทย์อุตสาหกรรม...

สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ร่วมกับ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จัดพิธีเปิดงานจัดแสดงผ้าผืนครั้งแรกในประเทศไทย "แฟชั่น แฟบริค เน็ตเวิร์ก 2014 (Fashion Fabric Network 2014)"

สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ร่วมกับ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) เรียนเชิญสื่อมวลชนร่วมเปิดงานจัด...

งาน "InterCare Asia 2024" งานแสดงสินค้าแล... "InterCare Asia 2024" คึกคัก เงินสะพัดกว่า 300 ล้านบาท สร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้วงการสุขภาพไทย — งาน "InterCare Asia 2024" งานแสดงสินค้าและนวัตกรรมเพื่อสุขภา...

ปิดฉากลงอย่างสวยงาม สำหรับงาน "InterCare ... เอ็น.ซี.ซี. ปลื้ม คนรักสุขภาพร่วมงาน "InterCare Asia 2023" แน่นกว่า 11,800 คน — ปิดฉากลงอย่างสวยงาม สำหรับงาน "InterCare Asia 2023 งานแสดงสินค้าและนวัตกรร...