นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ;ภาษาต่างประเทศนักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว; ถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เพราะเป็นด่านแรกในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว กรมการท่องเที่ยวจึงได้เร่งจัดอบรมพัฒนาศักยภาพด้านภาษาให้กับมัคคุเทศก์ของไทยโดยเฉพาะภาษาที่ขาดแคลนและภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อให้มัคคุเทศก์ไทยมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมเรื่องภาษา รองรับนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นเมื่อไทยก้าวเข้าสู่ AEC
นางธิดา จงก้องเกียรติ ผู้อำนวยการสำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กล่าวว่า ในปี นักท่องเที่ยว558 ที่ประเทศในภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งไทยจะเข้าสู่ AEC ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมายังประเทศกลุ่มอาเซียนมากถึง กรมการท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ7 ล้านคน และจะเดินทางเข้ามาไทยไม่น้อยกว่า นักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ ล้านคน เพื่อชมความสวยงามทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ของสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึงความมีอัธยาศัยไมตรีของคนไทย ถือเป็นโอกาสและช่องทางในการสร้างรายได้ให้กับประเทศไทยจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อาชีพหนึ่งที่ต้องมีการปรับตัวและพัฒนาขีดความสามารถให้มากกว่าปัจจุบัน เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นหลังจากเข้าสู่ AEC ก็คืออาชีพ นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ;มัคคุเทศก์นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว; ที่เปรียบเสมือนทูตทางวัฒนธรรมของประเทศไทย ที่จะสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวผู้มาเยือน เป็นเสมือนคนแรกที่จะได้พบกับนักท่องเที่ยว อยู่กับนักท่องเที่ยวตลอดการเดินทาง จนกระทั่งเป็นคนสุดท้ายที่จะส่งนักท่องเที่ยวเดินทางกลับประเทศ
ทั้งนี้มัคคุเทศก์ของไทยจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมเรื่องภาษาเพราะเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะภาษาที่ขาดแคลนและภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน ทั้งนี้กรมการท่องเที่ยวโดยสำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ หน่วยงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ได้ทำการศึกษาและสอบถามจากบุคคลกรด้านการท่องเที่ยวพบว่าสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพนักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ;มัคคุเทศก์นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว;ก็คือภาษาต่างประเทศและสมรรถนะหลักซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และความสามารถของบุคลากรในธุรกิจนำเที่ยว
ผู้อำนวยการสำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กล่าวต่อไปว่า เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพให้แก่มัคคุเทศก์ไทยได้มีความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ (เพิ่มเติม)นอกเหนือจากภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษ สำหรับใช้ในการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น กรมการท่องเที่ยวโดยสำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย 8 แห่งจัดอบรมภาษาต่างประเทศใน"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศให้แก่มัคคุเทศก์เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประจำปี นักท่องเที่ยว557" ขึ้น ระหว่างเดือนมิถุนายน นักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว; กันยายน นักท่องเที่ยว557 ที่ผ่านมา โดยภาษาที่จัดอบรมมีจำนวน กรมการท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ ภาษา ได้แก่ ภาษารัสเซีย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาเกาหลี ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเวียดนาม ภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาพม่า ซึ่งล้วนแต่เป็นภาษาที่ต้องใช้สื่อสารกับนักท่องเที่ยวทั้งสิ้น โดยเฉพาะภาษาท้องถิ่นในอาเซียน เพราะมัคคุเทศก์ไทยยังมีไม่ความชำนาญภาษาเหล่านี้เพียงพอจึงจำเป็นต้องเรียนรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้ยังช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนมัคคุเทศก์ที่มีความรู้และความชำนาญภาษาต่างประเทศ เป็นการเพิ่มความแข็งแกร่งและขีดความสามารถให้แก่อาชีพ นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ;มัคคุเทศก์นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว;ของไทยให้สามารถแข่งขันได้เมื่อมีการเปิด AEC ด้วย โดยมีผู้ร่วมรับการฝึกอบรมครั้งนี้รวม 558 คน
นอกจากการอบรมภาษาเพิ่มเติมให้กับมัคคุเทศก์แล้วกรมการท่องเที่ยวยังได้จัดตั้ง นักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวธิดา จงก้องเกียรติ;เครือข่ายล่ามอาสาเพื่อพัฒนาการบริการนักท่องเที่ยวนานาชาตินักท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยว; เพื่อเป็นการเร่งแก้ปัญหาการขาดแคลนล่ามภาษาและมัคคุเทศก์ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลายภาษาต่างประเทศในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งโครงการนำร่องได้แก่ กิจกรรมอบรมสัมมนาสร้างเครือข่าย ล่ามอาสาเพื่อบริการนักท่องเที่ยวนานาชาติ โดยมีนิสิต นักศึกษาจากภาควิชาและสาขาภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น รัสเซีย เยอรมัน ฯลฯ หลายสถาบันให้ความสนใจเข้าร่วมสัมมนาเป็นจำนวนมาก
กรมการท่องเที่ยว ให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ซึ่งถือเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และจากนโยบายรัฐบาลที่มีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อกระจายรายได้สู่ทุกภาคส่วน ส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง ซึ่งปัจจุบันการท่องเที่ยวในประเทศ เริ่มมีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อีกทั้งมีความต้องการที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวที่เน้นความอิสระ การท่องเที่ยวที่มีความสงบเน้นท่องเที่ยวด้วยตัวเอง หรือเฉพาะกลุ่มเล็ก ๆ หรือการท่อง
เส้นทางเติมสีสัน-พลังชีวิต สไตล์ Art & Craft & Wellness (เชียงใหม่-ลำพูน)
—
กรมการท่องเที่ยวสร้างสรรค์แนวคิด "Muslim Delight Journey จุดพลังเศรษฐก...
ภาพข่าว: การบินไทยจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติอาเซียน
—
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จัดงานประชุมวิชาการระดับชาติอาเซียนครั้งที่ 7 ประจำปี 2561 (Gastron...
ภาพข่าว: ก.ท่องเที่ยวฯ เจ้าภาพประชุม จนท.อาวุโสด้านการท่องเที่ยวอาเซียน ครั้งที่ 44
—
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด...
ภาพข่าว: Bangkok U. Travel Festival ครั้งที่ 2
—
นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดสำหรับธุรกิจบริการและบันเทิง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดงาน Bangkok U...
ภาพข่าว: SPU : การจัดการการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ ม.ศรีปทุม เข้าร่วมสัมมนาเครือข่ายฯ หลักสูตรมัคคุเทศก์
—
ดร.มณฑิชา เครือสุวรรณ์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์(คนที...
กรมการท่องเที่ยวเดินหน้าพัฒนาศักยภาพด้านภาษาให้มัคคุเทศก์ไทยรับประชาคมอาเซียน
—
“ภาษาต่างประเทศ” ถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพมัคคุเท...