ก้าวสู่ความสำเร็จ คน น้ำ ป่า ของสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดำริ

          สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ทำการศึกษาและประเมินผลโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ ซึ่งกำเนิดขึ้นจากแนวพระราชดำริในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เพื่อช่วยเหลือราษฎรมาอย่างต่อเนื่องยาวนานกว่า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์4 ปี โดยจัดตั้งสถานีสาธิตและถ่ายทอดการเกษตร ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม บ้านแปกแซม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นแห่งแรกในปี จังหวัดเชียงใหม่543 และหลังจากนั้นได้มีการจัดตั้งสถานีอื่นๆ มาเป็นลำดับ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ครอบคลุมใน 6 จังหวัดได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา พิษณุโลก กำแพงเพชร มีจำนวนทั้งสิ้น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์8 สถานี โดยได้ดำเนินการประเมินผลใน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านป่าไม้ เน้นการฟื้นฟูและอนุรักษ์สภาพพื้นที่ป่าต้นน้ำ และการส่งเสริมให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการป้องกันฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรมให้มีสภาพที่สมบูรณ์ขึ้น มีผลผลิตจากป่าเพิ่มขึ้น รวมทั้งการอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน และด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร ได้แก่ จัดหาน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค และการเกษตรกรรม การส่งเสริมให้ราษฎรมีทางเลือกในการประกอบอาชีพ รวมถึงด้านการบริหารจัดการโครงการฯ และการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในการดำเนินโครงการฯ
          นายสุวัฒน์ เทพอารักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) กล่าวว่า สำนักงาน กปร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโครงการฯจึงเห็นควรจัดให้มีการประเมินผลโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดำริ เพื่อประมวลเรื่องให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินงาน และรูปแบบในการบริหารจัดการโครงการฯ ที่ผ่านมา ที่ทำให้เกิดผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมชัดเจน และนำผลของการประเมินไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย และแนวทางในการพัฒนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยเฉพาะที่อยู่บนพื้นที่สูง และอื่นๆ ต่อไป การประเมินได้เลือกสถานีเป็นกรณีศึกษา 3 แห่ง ได้แก่ สถานีสาธิตและถ่ายทอดการเกษตร ป่าไม้ สิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านแปกแซม จังหวัดเชียงใหม่ สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ
ปางขอน จังหวัดเชียงราย และสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ ภูพยัคฆ์ จังหวัดน่าน ในการประเมินผลฯ นั้นได้มีการดำเนินการอย่างครอบคลุม นับตั้งแต่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโครงการฯ ไปจนถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และประชาชนในพื้นที่ได้รับประโยชน์จากโครงการฯ ประกอบด้วย ชาวไทยภูเขาเผ่าลีซอ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำนวน จังหวัดเชียงใหม่ หมู่บ้าน ประมาณ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์95 ครัวเรือน ประชากร 8มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คน พื้นที่จังหวัดเชียงราย ชาวไทยภูเขาเผ่าอาข่า และเผ่ามูเซอ จำนวน 3 หมู่บ้าน ประมาณ 4มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ครัวเรือน ประชากร จังหวัดเชียงใหม่,จังหวัดเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คน และชาวไทยภูเขาเผ่าลั๊ว จำนวน จังหวัดเชียงใหม่ หมู่บ้าน ประมาณ จังหวัดเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ครัวเรือน ประชากร 98มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คน ในพื้นที่จังหวัดน่าน โดยได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาในพื้นที่ เป็นผู้ทำการศึกษา และติดตามผลการประเมินผล ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานศึกษาเอกสาร ติดตามเก็บข้อมูลภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำ (ร่าง) สรุปผลการประเมินโครงการฯ เสร็จเรียบร้อยแล้วและเพื่อให้สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงฯ ตลอดจน สำนักงาน กปร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบผล และร่วมกันพิจารณาความครบถ้วนของรายงานการประเมินผลโครงการฯ ดังกล่าว รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมสำหรับการดำเนินงานโครงการฯ ในระยะต่อไป
          ในการสัมมนาฯ ครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประมาณ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คน จากหน่วยงานที่เกี่ยงข้องที่เป็นส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ได้แก่ สำนักราชเลขาธิการ สำนักพระราชวัง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป่าไม้ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมชลประทาน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ (พิษณุโลก) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์จังหวัดเชียงใหม่(นครสวรรค์) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์3(แพร่) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์5(เชียงราย) และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์6(เชียงใหม่) โครงการชลประทานเชียงราย โครงการชลประทานเชียงใหม่ โครงการชลประทานน่าน หัวหน้าสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ ในพื้นที่ภาคเหนือทั้ง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์8 สถานี และผู้แทนในส่วนของราษฎรผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการฯ เป็นต้น
          โอกาสนี้ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ได้กล่าวในพิธีเปิดการสัมมนาที่ โรงแรม ดุสิต ไอส์แลนด์ รีสอร์ท เชียงราย จังหวัดเชียงราย ว่า โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรทีสูงตามพระราชดำริ เป็นโครงการรูปแบบหนึ่งในหลายๆ โครงการ ซึ่งได้ดำเนินงานมาเป็นเวลาประมาณ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์4 ปี โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริที่ได้ดำเนินงานมาเป็นระยะเวลานานนั้น มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในหลายๆ มิติ ซึ่งต่างก็ล้วนเอื้ออำนวย ก่อให้เกิดประโยชน์สุขกับราษฎร พร้อมๆ กับช่วยฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ ต้นน้ำลำธาร ผมได้มีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมเยียนโครงการต่างๆ เป็นประจำในแต่ละปี เป็นจำนวนหลายโครงการฯ ในปลายปี จังหวัดเชียงใหม่556 และต้นปี จังหวัดเชียงใหม่557 ที่ผ่านมานี้ ได้เดินทางไปสถานีสาธิตและถ่ายทอดการเกษตร ป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม บ้านแปกแซม จังหวัดเชียงใหม่ สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ บ้านปางขอน จังหวัดเชียงราย และสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ
ภูพยัคฆ์ จังหวัดน่าน พบว่า จากภาพของอดีตที่สภาพพื้นที่ป่าไม้ถูกทำลายความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ลดลง ราษฎรประกอบอาชีพทำไร่เลื่อนลอย แพ้วถางและเผาป่า ภาพในปัจจุบันมิได้เป็นไปเช่นนั้น ภาพที่เห็นเป็นภาพของการพัฒนาในหลายๆ เรื่อง เช่น ป่าไม้ได้รับการฟื้นฟู ได้รับการดูแล หวงแหน และพื้นที่ป่าไม้มีเพิ่มมากขึ้นจากการปลูกป่าหรือพืชเศรษฐกิจทดแทน มีการรวมกลุ่มและส่งเสริมการปลูกพืช ตลอดจนหาช่องทางการตลาดให้แก่ราษฎร ทำให้ราษฎรมีคุณภาพชีวิตและรายได้ที่ดีขึ้นจนราษฎรในบางโครงการเป็นที่กล่าวขานกันว่า มีรายได้จากการประกอบอาชีพตามแนวทางของโครงการฯ จำนวนถึงล้านบาท
          อย่างไรก็ดี ยังคงเป็นที่สังเกตเห็นเช่นกันได้ว่า สภาพพื้นที่ป่าไม้ ต้นน้ำลำธาร ที่ดีขึ้นนั้น ยังคงมีพื้นที่อีกหลายๆ ส่วน ที่จำเป็นจะต้องได้รับการพิจารณาดำเนินการฟื้นฟูแก้ไขอีกด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตรอยต่อหรือใกล้เคียงของโครงการ และการดำเนินการตามแผนงานหรือกิจกรรมใดๆ นั้น ก็สมควรที่จะได้รับการพิจารณาให้เป็นพื้นที่ยอมรับจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการพัฒนาด้วย เพื่อสนองพระราชดำริและเป็นการสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ผมขอฝากให้พวกเรา เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานทุกท่าน ได้ร่วมมือ ร่วมใจกันสืบสาน แนวพระราชดำริของโครงการให้บังเกิดผลประโยชน์สูงสุด และให้เกิดความยั่งยืนกับพี่น้องประชาชน ผลสรุปของบทเรียน หรือกรณีศึกษาดังกล่าว ที่จะได้จากการติดตามประเมินผลครั้งนี้ก็น่าที่จะเป็นประโยชน์ และให้ประชาชนได้รับประโยชน์ เรียนรู้ และสามารถประยุกต์ใช้อย่างยั่งยืนต่อไป


ข่าวมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่+สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์วันนี้

ม.ศรีปทุม เปิดบ้านต้อนรับ ม.ราชภัฎเชียงใหม่ ศึกษาโมเดลบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ

ม.ศรีปทุม ให้การต้อนรับ ม.ราชภัฎเชียงใหม่ เข้าศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ และเยี่ยมชมการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน ของคณะการสร้างเจ้าของธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดย รศ.กัลยาภรณ์ ปานมะเริง รองอธิการบดี และอาจารย์เปรมจิตร เสาวคนธ์ รองอธิการบดี ให้การต้อนรับ ผศ.พรพิมล วงศ์สุข รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร จำนวน 80 คน ในโอกาสเข้าศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ และคณะการสร้างเจ้าของธุรกิจ SPU ภายในงาน ผศ.ดร

วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 คณะครูและนักเรียนระ... โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ เข้าทัศนศึกษาภายในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ — วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 คณะครูและนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 3 จากโรงเรียนสาธิต...

เมื่อวันที่ 28 – 29 มิถุนายน 2557 ที่ผ่าน... เยาวชนเชียงใหม่จัดสัมมนาเพื่อลดผู้ใช้เหล้าและสารเสพติดในรั้วมหาวิทยาลัย — เมื่อวันที่ 28 – 29 มิถุนายน 2557 ที่ผ่านมา เครือข่ายเยาวชนป้องกันปัญหาจากเครื่อ...

ก้าวสู่ความสำเร็จ คน น้ำ ป่า ของสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดำริ

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ทำการศึกษาและประเมินผลโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ ซึ่งกำเนิดขึ้นจากแนวพระราชดำริในสมเด็จพระนาง...

“Walk Rally สามัคคีแบ่งปัน สร้างสรรค์รัก” ที่เชียงใหม่ ซู อควาเรียม

เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2555 นายนฤทัต เจริญเศรษฐศิลป์ รองประธานกรรมการเชียงใหม่ ซู อควาเรียม ได้เผยว่า มีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้ต้อนรับคณะ Walk rally จากคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ได้จัดโครงการธุรกิจจำลอง ซึ่งได้...

10 มหาวิทยาลัยในเชียงใหม่จัดเวที MOU การจัดกิจกรรมรับน้องประชุมเชียร์ปลอดภัย สร้างสรรค์ ไม่มีแอลกอฮอล์

เมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ทิพย์พิมาน โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว เครือข่ายอุดมศึกษา ๑๐ สถาบันจังหวัดเชียงใหม่( มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,มหาวิทยาลัยแม่โจ้,มหาวิทยาลัยเทคโน...

ม.ราชภัฎเชียงใหม่เตรียมผู้นำ “รับน้องสร้างสรรค์”เน้นสร้างความสัมพันธ์รุ่นพี่รุ่นน้อง โดยปลอดแอลกอฮอล์ของมึนเมาและการรับน้องนอกสถานที่

วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุมสามปอยหลวง อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่โดยองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยได้จัดกิจกรรม...

ภาพข่าว: แมริออท ประเทศไทย จับมือ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ มอบความรู้และอาชีพแก่นักศีกษา

แมริออท ประเทศไทย โดยคุณปานจิต เฮาว์ ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ประจำประเทศไทย ได้ร่วมทำสนธิสัญญาร่วมกับผู้บริหารระดับสูงมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ เนื่องด้วยเรื่องความร่วมมือในการพัฒนาและให้ความรู้...

คณะศิลปศาสตร์ ม.แม่โจ้ ลงนามความร่วมมือสร้างเครือข่ายประกันคุณภาพการศึกษา ร่วมกับ 5 สถาบันในเชียงใหม่

เมื่อเร็วๆนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ ไตรแสง คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พร้อมด้วยอาจารย์พสุนิต สารมาศ รองคณบดีฝ่ายบริหาร นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายแผนและประกันคุณภาพฯ และตัว...