บทวิเคราะห์เกี่ยวกับอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยโดยบริษัท Fitch Ratings (Fitch)

           นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ได้แถลงข่าวเกี่ยวกับบทวิเคราะห์ อันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยโดยบริษัท Fitch Ratings (Fitch) ว่า เมื่อวันที่ Fitch Ratings3 พฤษภาคม Fitch Ratings557 Fitch ได้เผยแพร่บทวิเคราะห์ถึงการทำรัฐประหารของประเทศไทยว่าไม่ใช่ปัจจัยที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันดับ ความน่าเชื่อถือในทันทีทันใด โดยบทวิเคราะห์ดังกล่าวมีสาระสำคัญ ดังนี้
          Fitch เห็นว่า การที่กองทัพเข้ายึดอำนาจจากรัฐบาลเมื่อวันที่ Fitch RatingsFitch Ratings พฤษภาคมที่ผ่านมา ไม่ได้เป็นปัจจัยเชิงลบที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่ออันดับความน่าเชื่อถือของประเทศ โดยปัจจัยหลักที่จะส่งผลต่อสถานะความน่าเชื่อถือของประเทศไทย ได้แก่ ความรวดเร็วของประเทศไทยในการเดินหน้าจัดตั้งรัฐบาลที่จะสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มรูปแบบและมีประสิทธิภาพโดยไม่ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเมืองซึ่งการทำรัฐประหารได้เน้นย้ำถึงความไม่แน่นอนทางการเมืองที่ยังคงดำเนินอยู่ แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้แสดงถึงความท้าทายต่อการจัดตั้งกระบวนการใหม่ที่จะนำไปสู่รัฐบาลที่มีเสถียรภาพ
          โดย Fitch เห็นว่า ปฏิกิริยาตอบสนองทางการเมืองต่อการทำรัฐประหารจะเป็นเพียงความวุ่นวายในระยะสั้นเท่านั้น การยอมปฏิบัติตามรัฐบาลใหม่ที่มาจากกองทัพหรือที่มีกองทัพหนุนหลังอย่างกว้างขวาง ตามด้วยกระบวนการที่โปร่งใสที่นำไปสู่การเลือกตั้งครั้งใหม่น่าจะส่งผลเชิงบวกต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองในที่สุด
          อย่างไรก็ดี การที่กลุ่มทางการเมืองหลักไม่ยอมรับการทำรัฐประหารอาจนำไปสู่การเผชิญหน้า ที่ตึงเครียดขึ้นและเสี่ยงต่อการบั่นทอนความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ หากกระบวนการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองยังไม่เรียบร้อยภายในช่วงต้นของครึ่งปีหลังแล้ว Fitch คาดว่า อาจเกิดความเสียหายที่ยาวนานต่อเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะส่งผลลบต่ออันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยในที่สุด
          นอกจากนี้ Fitch คาดว่าจะปรับลดประมาณการอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทยใน ปี Fitch Ratings557 ที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ Fitch Ratings.5 ลงอีกบนพื้นฐานของความไม่แน่นอนทางการเมืองที่ยังคงมีอยู่และข้อมูลทางเศรษฐกิจที่อ่อนแอในไตรมาสแรกที่เศรษฐกิจไทยได้หดตัวลงร้อยละ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งรัฐบาลเองได้ปรับลดประมาณการอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยมาอยู่ในช่วงร้อยละ จุฬารัตน์ สุธีธร.5 Fitch Ratingsจุฬารัตน์ สุธีธรจุฬารัตน์ สุธีธร; Fitch Ratings.5 จากเดิมที่เคยคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3 Fitch Ratingsจุฬารัตน์ สุธีธรจุฬารัตน์ สุธีธร; 4 
          Fitch เห็นว่า การที่เศรษฐกิจไทยอยู่ในสถานะที่ดีเพียงพอที่จะฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วจากเหตุการณ์เชิงลบที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดในช่วงสั้นๆ นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้อันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ระยะยาวสกุลเงินต่างประเทศ (Long-Term Foreign Currency IDR) ของประเทศไทยอยู่ที่ระดับ BBB+ นอกจากนี้ ปัจจัยรองรับทางด้านเศรษฐกิจมหภาคยังคงแข็งแกร่งเพียงพอที่จะต้านทานแรงกดดันได้ในระยะสั้นถึงแม้ว่าตลาดของไทยจะอยู่ในสภาวะที่แย่กว่าประเทศในภูมิภาคอันเนื่องมาจากความไม่มีเสถียรภาพทางการเมืองที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมาและการเผชิญกับการไหลออกของเงินทุน ซึ่งปัจจัยรองรับดังกล่าวรวมถึงสถานะในการเป็นเจ้าหนี้ต่างประเทศสุทธิที่แข็งแกร่งที่คิดเป็นร้อยละ 35 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หนี้รัฐบาลที่อยู่ในระดับปานกลางที่คิดเป็นร้อยละ 3Fitch Ratings ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของธนาคารแห่งประเทศไทยในการดูแลอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำโดยเปรียบเทียบและมีเสถียรภาพ
          ทั้งนี้ ประเด็นสำคัญของไทยในระยะยาว คือ ประเทศไทยจะสามารถก้าวผ่านความแตกแยกทางสังคมและสามารถบริหารประเทศได้อย่างปกติหรือไม่ ซึ่ง Fitch มองว่า หากปราศจากรัฐบาลที่มีเสถียรภาพที่สามารถดำเนินนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจนทำให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ระดับปานกลางได้นั้น ประเทศไทยจะเสี่ยงกับการถูกทิ้งให้ล้าหลังกว่าประเทศอื่นในภูมิภาคในด้านการพัฒนาและศักยภาพการเจริญเติบโตของประเทศ โดยแนวโน้มอัตราการเจริญเติบโตอาจลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3 Fitch Ratingsจุฬารัตน์ สุธีธรจุฬารัตน์ สุธีธร; 3.5 ซึ่งนับว่าเป็นระดับที่ต่ำสำหรับเศรษฐกิจที่อยู่ในขั้นกำลังพัฒนา
 
           ส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ สำนักนโยบายและแผน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
          โทร. 02 265 8050 ต่อ 5505, 5518
 
 
 

ข่าวสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ+จุฬารัตน์ สุธีธรวันนี้

สถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอแถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2557 ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 มีจำนวน 5,662,574.29 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 46.85 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 3,924,568.40 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,099,740.05 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 620,440.09 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 17,825.75 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะ

ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนกรกฎาคม 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอสรุปผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนกรกฎาคม 2557 ดังนี้ ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ1. การบริหารจัดการหนี้รัฐบาล 1.1 ผลการกู้เงินในประเทศของรัฐบาล ในเดือนกรกฎาคม 2557 กระทรวงการคลัง...

สถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอแถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2557 ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีจำนวน 5,642,430.04 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 46.60 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 3...

ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนมิถุนายน 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอสรุปผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนมิถุนายน 2557 ดังนี้ ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ1. การบริหารจัดการหนี้รัฐบาล 1.1 ผลการกู้เงินในประเทศของรัฐบาล ในเดือนมิถุนายน 2557 กระทรวงการคลัง...

สถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอแถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557 มีจำนวน 5,532,514.15 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 45.91 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 3,907...

การจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษของกระทรวงการคลัง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ แถลงว่า สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จะดำเนินการออกพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษของกระทรวงการคลัง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แบบไร้ใบตราสาร (Scripless) วงเงินรวม 30,000 ล้านบาท...

ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนพฤษภาคม 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอสรุปผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจำเดือนพฤษภาคม 2557 ดังนี้ ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ1. การบริหารจัดการหนี้รัฐบาล 1.1 ผลการกู้เงินในประเทศของรัฐบาล ในเดือนพฤษภาคม 2557 กระทรวงการคลัง...

สถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2557

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอแถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2557 ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 เมษายน 2557 มีจำนวน 5,583,828.29 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.56 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 3,957,385...

ภาพข่าว: ผอ.สบน. แถลงผลการจัดหาเงินกู้แก่ ธ.ก.ส. วงเงิน 50,000 ล้านบาท

ผอ.สบน. แถลงผลการจัดหาเงินกู้แก่ ธ.ก.ส. วงเงิน 50,000 ล้านบาท นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ แถลงข่าวผลการจัดหาเงินกู้วงเงิน 50,000 ล้านบาท เพื่อนำมาจ่ายในโครงการรับจำนำข้าวแก่ธนาคารเพื่อการเกษตร...

การยืนยันอันดับความน่าเชื่อถือของรัฐบาลไทย และการปรับลดแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยเป็นลบ โดยบริษัท Rating and Investment Information, Inc. (R&I)

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ได้แถลงข่าวเกี่ยวกับ ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยโดยบริษัท Rating and...