เมื่อหนังสือเคลื่อนที่ได้ และห้องสมุดกลายเป็น “คาเฟ่”

           เด็กไทยอ่านหนังสือน้อยลง̷โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;หรือหนังสือดีๆ มีให้เด็กอ่านน้อยลง?
          นี่อาจจะเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้ทุกคนมองว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เด็กไทย̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ไม่ชอบอ่านหนังสือ แต่จะมีสักกี่คนที่เคยลงไปสำรวจว่าในห้องสมุดมีหนังสือดีๆ อยู่กี่เล่ม และบรรดาหนังสือที่มีอยู่เหมาะสมกับวัยของเด็กหรือไม่
          ห้องสมุดในโรงเรียนวัดบ่อทรัพย์ จังหวัดสงขลาอาจเป็นภาพสะท้อนของโรงเรียนนับหมื่นนับพันแห่งในประเทศไทย ที่ ธนพร บุญส่ง หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;นุ่น̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มองเห็นตั้งแต่เข้ามาเรียนที่นี่
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุดที่นี่มีขนาดเล็ก คับแคบ ไม่สวยงาม และมีหนังสือน้อย ถึงมีก็ไม่ทันสมัย ทำให้นักเรียนไม่สนใจอ่านหนังสือ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; 
          สิ่งที่นุ่นเห็น นำไปสู่การ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คิดต่อ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ว่าจะทำอย่างไรให้ห้องสมุดในโรงเรียนของเธอมีชีวิตและเป็นสถานที่บ่มเพาะนิสัยรักการอ่านให้นักเรียนได้ 

          ไม่เพียงแค่คิด...แต่ต้องลงมือทำ
          นุ่นลงรับสมัครตำแหน่งประธานนักเรียนโรงเรียนบ่อทรัพย์ที่มีเด็กจำนวน 3โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์ กว่าคน และนโยบายที่นุ่นได้ให้ไว้คือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;จะทำห้องสมุดของโรงเรียนให้สวยงามและมีหนังสือน่าอ่านมากขึ้น̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; เมื่อนุ่นได้เป็นประธานนักเรียนแล้ว เป็นช่วงจังหวะเดียวกับ ที่ พรรณิภา โสตถิพันธุ์ หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ป้าหน̶ูมูลนิธิสยามกัมมาจล; ผู้อำนวยการสงขลาฟอรั่ม เข้ามาแนะนำ โครงการพลังพลเมืองเยาวชนสงขลา ที่ได้รับการสนับสนุจากมูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) นุ่นมองเห็นว่านี่อาจจะเป็นช่องทางหนึ่งที่ทำให้ฝันในการสร้าง ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุด̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ของเธอเป็นจริงขึ้นมา
̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ที่เห็นความเป็นไปได้และมั่นใจว่าทำได้ เพราะว่าเราไม่ได้ทำงานคนเดียว ตัวโครงการระบุว่าต้องมีทีมทำงาน 5 คน มีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยชี้แนะ และยังมีการอบรมการทำโครงการจากสงขลาฟอรั่มด้วย̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; 
          นุ่นนำเรื่องไปปรึกษา ศลิษา มานะศิริ หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ครูษา̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; บอกเล่าถึงวัตถุประสงค์และความตั้งใจในการทำโครงการ จากนั้นเดินหน้าหาสมาชิกด้วยการออกไปประกาศหน้าเสาธง พบว่ามีน้องๆ ชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาให้ความสนใจมากมาย แต่มาสมัครจริงๆเพียง มูลนิธิสยามกัมมาจล3 คน ซึ่งเป็นคนที่ชอบอ่านหนังสือและเข้าห้องสมุดเป็นประจำ...แต่สิ่งที่นุ่นต้องการมากกว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;จิตอาสา̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; คือ ความสามารถในการทำงานเป็นทีม เป็นเพื่อนคิดเวลางานมีปัญหา 
          
          ด้วยเหตุนี้จึงทำให้นุ่นเลือก ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ทีมทำงาน̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ที่พอรู้จักและมั่นใจได้ว่าจะสามารถทำงานร่วมกันได้ โดยมีครูษาอาสาเข้ามาเป็น ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ที่ปรึกษาโครงการ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ช่วยเฟ้นหาคณะทำงานอีกแรง 

          นอกจากนุ่นแล้วยังมี วนัชพร หวั่นเส้ง หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;กิ๊ฟ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; บุษยา พิมพาชะโร หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;บุษ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; พิมพิศา ปาณะ หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;โอ๊ต̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; และ อารีรัตน์ งาหัตถี หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;แนน̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ภายใต้ชื่อกลุ่มจิตใสอาสา ซึ่งบางคนเป็นเพื่อนของนุ่น บางคนเป็นรุ่นน้อง เพราะนุ่นคาดหวังว่าให้รุ่นน้องมาสานต่องานของรุ่นพี่หลังจากที่พวกเขาจบการศึกษา 
          ความละเอียดรอบคอบของนุ่น มิได้มีเฉพาะการ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คัดเลือก̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; คนมาร่วมทีมเท่านั้น แต่เธอยังเป็นคนที่มุ่งมั่นกับงานที่เธอปรารถนาจะทำให้มันเกิดขึ้นในช่วงที่เธอยังเรียนอยู่ที่นี่...และที่สำคัญต้องเสร็จให้ทันกับระยะเวลาที่กำหนด 
          ดังนั้นงานชิ้นแรกของกลุ่มก็คือการตั้งชื่อโครงการ...ชื่อที่ต้องใช้สื่อสารกับกลุ่มคนที่พวกเขาต้องเข้าไปติดต่อประสานงาน 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เราอยากทำให้ห้องสมุดไม่เงียบเหงา เป็นห้องสมุดแห่งความสนุกสนาน มีแต่ความบันเทิง และไม่เครียด̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; นี่คือโจทย์ที่นุ่นทิ้งให้เพื่อนและน้องร่วมกันคิด...ซึ่งอาจจะดูขัดกับความเป็นจริงของห้องสมุดทั่วๆ ไปคือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ความสงบเงียบ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; เท่านั้นที่ห้องสมุดต้องการ 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;พวกเราตั้งชื่อว่าโครงการห้องสมุดคาเฟ่เคลื่อนที่พี่สอนน้อง เอาคำว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คาเฟ̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; ที่หมายถึง ความสนุกสนาน ความบันเทิง ไม่เครียด ไม่ใช่ว่าเข้าห้องสมุดแล้วเงียบเหงา ส่วน ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เคลื่อนที̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; หมายถึงการเอาหนังสือไปหาน้อง โดยไม่ต้องให้น้องๆ ขึ้นมาบนห้องสมุด ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;พี่สอนน้อง̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; คือ เราต้องการหาแกนนำให้มาสอนน้อง ชักจูงน้องเป็นลูกโซ่ เพื่อให้น้อง ๆ มาทำต่อจากเรา̶มูลนิธิสยามกัมมาจล;

          เริ่มต้นที่ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ข้อมูล̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; 
          กลุ่มจิตใสอาสาจึงเริ่มลงมือสำรวจน้องๆ ในโรงเรียนเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ และการใช้ห้องสมุด โดยใช้แบบสอบถามที่ครูษาช่วยออกแบบให้ 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เราอยากให้น้องในโรงเรียนเข้าห้องสมุดมากขึ้น จากสถิติเดิมวิธีการคือ ให้คุณครูบรรณารักษ์ประจำอยู่หยอดแผ่นพลาสติกประจำชั้นเวลามีเด็กเข้าไปใช้ห้องสมุด พอถึงกำหนดก็เอาออกมานับ และครูก็จะให้รางวัลเด็กที่เข้าห้องสมุดเป็นประจำ....แต่ที่น่าตกใจคือพอเอาสถิติมาดูปรากฏว่าคนเข้าห้องสมุดน้อยมาก̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;
          เมื่อเห็นว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุดเริ่มร้างคน̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; นุ่นและทีมจึงจัดทำแบบสอบถามใหม่อีกชุดเพื่อสำรวจความต้องการในการใช้ห้องสมุด ด้วยการลงไปสำรวจคนในโรงเรียน ทั้งถามแบบตัวต่อตัว และแจกแบบสอบถาม ข้อมูลที่ค้นพบคือ ห้องสมุดมีหนังสือน้อย ที่มีอยู่ก็เล่มเก่าๆ เดิมๆ บางเล่มอ่านซ้ำแล้วซ้ำอีก อยากได้หนังสือใหม่ๆ บ้าง 
          นุ่นและเพื่อนแก้ปัญหาด้วยการเชิญชวนผู้ปกครองและชาวบ้านให้มาบริจาคหนังสือ แม้จะมีการบริจาคเข้ามามากมาย แต่หนังสือที่ได้ก็ไม่ตรงกับความต้องการของเด็กๆ ในโรงเรียน บางเล่มก็ไม่เหมาะสมกับวัยของน้องๆ ในโรงเรียน นุ่นจึงคัดเลือกบางส่วนที่เป็นประโยชน์เก็บไว้ ส่วนที่ไม่ใช้ก็นำไปขายเพื่อนำเงินมาสมทบทุนพัฒนาห้องสมุด เช่น อุปกรณ์การเรียน หนังสือดีๆ หรือของตกแต่งห้องสมุดให้สวยงาม
          แต่ถึงกระนั้นก็ตาม ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;หนังสือ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ที่ได้รับบริจาคจากในชุมชนก็ยังไม่เป็นที่พอใจของกลุ่มจิตใสอาสา นุ่นและเพื่อนจึงเริ่มเขียนจดหมายด้วยลายมือกว่า มูลนิธิสยามกัมมาจลโรงเรียนวัดบ่อทรัพย์โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์ ฉบับเพื่อขอความอนุเคราะห์หนังสือจากสำนักพิมพ์ต่างๆ ที่เธอพอจะรู้จัก เช่น ซีเอ็ด และสำนักพิมพ์อื่นๆ 

          น้องไม่มาหาหนังสือ..เราก็เอาหนังสือไปหาน้อง
          ระหว่างรอคำตอบจากสำนักพิมพ์ นุ่นก็ไม่อยู่เฉยจัดแบ่งทีมในกลุ่มแกนนำ ชวนเพื่อนรวมกลุ่มมาอ่านหนังสือให้น้องฟังโดยคัดเอาหนังสือและการ์ตูนที่คิดว่าน้องๆ สนใจใส่ตะกร้าไปอ่านให้น้องฟัง
และแล้วกิจกรรม ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุดคาเฟ่เคลื่อนที̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; ซึ่งนุ่นจำรูปแบบกิจกรรมนี้มาตั้งแต่เรียนชั้น ป.2 - ป.3 ที่คุณครูนำหนังสือหนังสือใส่ตะกร้าแล้วมาวางไว้ที่ม้าหินอ่อนเพื่อให้เด็กนักเรียนอ่าน เลยคิดว่าถ้าทำแบบนั้นกับโครงการของพวกเราน่าจะดี เพราะเห็นว่าน้องๆ ไม่ชอบเข้าห้องสมุด แต่สิ่งที่เราคิดต่อคือ ถ้าเขาไม่มา เราก็จะไปหาเอง 
          นุ่นเล่าต่อว่า ครั้งแรกที่หิ้วตะกร้าหนังสือลงไปหาน้องๆ นั้น ไม่ประสบความสำเร็จมากนัก ไม่มีใครสนใจเลย ขณะที่สมาชิกในทีมก็ไม่กล้าพูดจาโน้มน้าวเชิญชวน ทางออกตอนนั้นคือพยายามให้กำลังใจกันเองว่าถ้าไม่ทำน้องๆ ก็จะไม่เข้าห้องสมุดอ่านหนังสือและจะอ่านหนังสือไม่ออก ส่วนครูษาก็คอยให้กำลังใจบอกว่า ท้อได้แต่อย่าถอย ทำให้สมาชิกมีกำลังใจเพิ่มขึ้น
หลังได้กำลังใจจากครูและสมาชิกในทีม กลุ่มจิตใสใจอาสาก็เริ่มเข้าหาน้องๆ มากขึ้น พยายามปรับกลยุทธ์ในการพูด จากหยิบหนังสือขึ้นมาอ่านเป็นเริ่มต้นด้วยการเล่นเกม มีตุ๊กตาหรือหุ่นมือประกอบการเล่า นอกจากนั้นยังดัดเสียงสูงๆ ต่ำๆ เป็นเหมือนตัวละครในนิทานที่อ่านให้น้องๆ ฟัง
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เรามาทบทวนความผิดพลาดในครั้งแรก และหาวิธีที่จะทำให้น้องๆ มาอ่านหนังสือกับพวกเรา วันหนึ่งตอนที่เดินอ่านหนังสือในห้องสมุดมองเห็นตุ๊กตา จึงเกิดความคิดว่าทำไมไม่เอาไปอ่านร่วมกับการเล่านิทาน เพราะในห้องสมุดมีตุ๊กตาวางอยู่เฉยๆ หลายตัว̶มูลนิธิสยามกัมมาจล;
จากนั้นน้องๆ อนุบาลก็ถูกหลอกล่อให้สนใจหนังสือนิทานด้วย ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ละครหุ่นมือ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ที่กลุ่มคิดขึ้น แม้จำนวนน้องๆที่มาจะไม่มาก แต่นุ่นก็คิดว่ากิจกรรมครั้งนี้ ประสบความสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ
          แต่กลุ่มจิตใสอาสาก็มิได้หยุดอยู่แค่นั้น... นุ่นแบ่งเพื่อนๆ แกนนำเป็น 5 กลุ่ม กระจายกำลังกันออกไปอ่านนิทานให้น้องๆ ฟังตามมุมต่างๆ ในโรงเรียน และระหว่างที่อ่านหนังสือก็จะมีกิจกรรม ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ตอบคำถามชิงรางวัล̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ไปด้วย 

          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คาเฟ̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; แห่งการเรียนรู้
          ผลของความเพียรพยายามของนุ่นและเพื่อนๆ ในระยะเวลา 4 - 5 เดือนของการทำโครงการ พบว่ามีน้องๆ ระดับชั้นอนุบาลสนใจเข้าร่วมฟังนิทานที่พี่ๆ นำมาเล่าประกอบละครหุ่นมือเพิ่มขึ้น และสิ่งที่สร้างความยินดีให้กับนุ่นและเพื่อนมากที่สุดคือ มีหนังสือจากสำนักพิมพ์ซีเอ็ดบุ๊ค และสำนักพิมพ์อื่นๆ มูลค่านับแสนบาททยอยมาส่งที่โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์ ทำให้ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุดโรงเรียนวัดบ่อทรัพย์̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้น และมีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เด็กๆ นักเรียนในโรงเรียนได้ใช้อย่างไม่น้อยหน้าใคร อีกทั้งยังมีสถานที่ที่มีความสวยงามและน่าใช้มากขึ้น 

          ทั้งหมดนี้เกิดจากความพยายามของเด็กผู้หญิงตัวเล็กๆ กลุ่มหนึ่งที่รักหนังสือและอยากทำประโยชน์ อยากให้น้องๆ ในโรงเรียนอ่านหนังสือออก สิ่งที่เกิดขึ้นกับเด็กกลุ่มจิตใสอาสามีค่ามากกับตนเองและผู้อื่น คือสิ่งดีๆ ที่ยังคงมีคนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจต่อสังคม

          พรรณิภา โสตถิพันธุ์ หรือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ป้าหน̶ูมูลนิธิสยามกัมมาจล; ผู้อำนวยการสงขลาฟอรั่ม เล่าว่า ช่วงแรกที่เด็กๆ กลุ่มจิตใสอาสาร่วมกันคิดชื่อ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;โครงการห้องสมุดคาเฟ่เคลื่อนที่พี่สอนน้อง̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; นั้น แม้ความหมายรวมๆ ของคำว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ห้องสมุด̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; คำว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คาเฟ̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; และ คำว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เคลื่อนที̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; จะไปกันคนละทิศคนละทาง แต่เมื่อนำเอาคำทั้ง 3 มารวมกัน ก็จะได้ความหมายที่ชัดเจนในแง่ของการ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ส่งสาร̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;นี่เป็นทักษะหนึ่งของการสื่อสาร ที่เด็กๆ พยายามบอกกล่าวให้คนได้รับรู้ว่า ห้องสมุดของพวกเขาเคลื่อนที่ได้ ขณะเดียวกันก็ยังเป็นห้องสมุดแห่งความสนุกสนาน เพราะเขาตีความคำว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;คาเฟ̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; คือเรื่องของความสนุกสนาน แปลโดยรวมๆ คือ ห้องสมุดแห่งความสนุกสนานเคลื่อนที่ได้...และเขาก็ทำได้จริง ๆ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์; 
          การเกิดขึ้นของทักษะด้านการสื่อสารมิได้มีเฉพาะการตั้งชื่อโครงการเท่านั้น แต่ระหว่างการกำกิจกรรมเด็กๆ ทั้ง 5 คนล้วนเกิด ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;กระบวนการเรียนร̶ู้มูลนิธิสยามกัมมาจล; และเกิด ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ความเปลี่ยนแปลง̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; หลายด้าน โดยเฉพาะการปรับเทคนิคการพูด และการสื่อสารผ่านละครหุ่นมือ หรือแม้แต่การเล่านิทาน เหล่านี้คือ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;สิ่งใหม̶่มูลนิธิสยามกัมมาจล; ที่เกิดขึ้นระหว่างที่เด็กๆ ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
          ถ้ามองในเชิงความเปลี่ยนแปลงที่ตัวบุคคล สำหรับนุ่นที่เจ้าตัวบอกว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เป็นคนอารมณ์ร้อน ปากจัด และมักพูดก่อนคิด̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; โครงการห้องสมุดคาเฟ่เคลื่อนที่พี่สอนน้อง ที่นิยามบอกชัดแล้วว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ต้องสนุกสนาน̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ทำให้นุ่นต้องเตือนตัวเองในทุกๆ ครั้งที่ทำกิจกรรมกับน้องๆ ทำให้นุ่นเป็นคนใจเย็นขึ้นโดยที่ตัวเองก็ไม่รู้ตัว 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;อยู่กับน้องๆ มาอ่านหนังสือให้น้องๆ ฟัง ทำให้กลายเป็นคนใจเย็นไปเลย เพียงแค่เห็นน้องๆ มานั่งฟังเราเล่านิทาน เราก็มีความสุขแล้ว̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; นุ่นบอก
          บุตรเลขานุการของทีม บอกว่า นอกจากจะมีหน้าที่จัดทำรายงานและสรุปกิจกรรมของกลุ่มแล้ว บุตรยังต้องลงไปช่วยเพื่อนๆ อ่านหนังสือให้น้องๆ ฟังด้วย 
          ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ทำเหมือนทุกคน พาน้องๆ ขึ้นไปบนห้อง บางทีก็อ่านให้น้องๆ ฟังหนังสือไปตามห้องเลย ตามใต้ต้นไม้บ้าง ต้องถามน้องๆ ก่อนว่าจะไปนั่งตรงไหน คือทุกคนจะมีหน้าที่เหมือนๆ กัน แต่สิ่งที่ได้เรียนรู้มากคือการจดบันทึก และสรุปประเด็นเพื่อเอาข้อมูลมานำเสนอ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล;
ส่วนกิ๊ฟที่รับผิดงานการเงินบอกว่า รู้สึกภูมิใจกับการทำกิจกรรมของตนเอง และเห็นว่าน้องสนใจและให้ความสำคัญกับการอ่านก็จะรู้สึกหายเหนื่อย
          แม้ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจะนำความภาคภูมิใจมาสู่คนทำงาน โรงเรียน และเกิดผลต่อชุมชน แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือการที่พวกเขาพิสูจน์ให้เห็นว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;เพียงแค่คิด̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ก็มิอาจเดินไปสู่จุดหมายได้ หากไม่ได้ ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;ลงมือทำ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล;
          และสิ่งนี้ก็สะท้อนให้เห็นว่า ̶โรงเรียนวัดบ่อทรัพย์;การทำเรื่องเล็ก ๆ ตามศักยภาพ̶มูลนิธิสยามกัมมาจล; ก็สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ได้...

ข่าวโรงเรียนวัดบ่อทรัพย์+มูลนิธิสยามกัมมาจลวันนี้

เมื่อหนังสือเคลื่อนที่ได้ และห้องสมุดกลายเป็น “คาเฟ่”

เด็กไทยอ่านหนังสือน้อยลง…หรือหนังสือดีๆ มีให้เด็กอ่านน้อยลง? นี่อาจจะเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้ทุกคนมองว่า “เด็กไทย” ไม่ชอบอ่านหนังสือ แต่จะมีสักกี่คนที่เคยลงไปสำรวจว่าในห้องสมุดมีหนังสือดีๆ อยู่กี่เล่ม และบรรดาหนังสือที่มีอยู่เหมาะสมกับวัยของเด็กหรือไม่ ห้องสมุดในโรงเรียนวัดบ่อทรัพย์ จังหวัดสงขลาอาจเป็นภาพสะท้อนของโรงเรียนนับหมื่นนับพันแห่งในประเทศไทย ที่ ธนพร บุญส่ง หรือ “นุ่น” นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มองเห็นตั้งแต่เข้ามาเรียนที่นี่ “ห้องสมุดที่นี่มีขนาดเล็ก คับแคบ ไม่สวยงาม และมีหนังสือน้อย

ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่เอ่ยถึงการศ... ชุมชนการเรียนรู้ "ครูเพื่อศิษย์" PLC-Coaching ครูและศิษย์ต้องไม่ตกหลุมการเรียนรู้แบบผิวเผิน — ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่เอ่ยถึงการศึกษาไทยซึ่งว่ากันว...

“UNC The Exhibition” 26-28 ต.ค. ดิ เอ็มควอเทียร์

เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม (University Network For Change : UNC) ร่วมกับ สสส.สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ สภาคณบดีทางศิลปะแห่งประเทศไทย องค์กรภาคี ภาคประชาสังคม มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) จัดนิทรรศการ "UNC...

มูลนิธิ EDF (มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อกา... มูลนิธิ EDF จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนโครงการ “ทุนบูรณาการเพื่อเด็ก โรงเรียน และชุมชน” — มูลนิธิ EDF (มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา) นำโดยนางสาวจารุวัฒน์ ...