ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา"ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF)"

          ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา "ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF) " วันเสาร์ที่ โรงพยาบาลรามคำแหง8 มิถุนายน โรงพยาบาลรามคำแหง557 ณ ห้องประชุมอาคาร C ชั้น หัวใจเต้นผิดจังหวะบัญชา ศันสนีย์วิทยกุล โรงพยาบาลรามคำแหง โดยที่งานสัมมนาในครั้งนี้ มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมเป็นจำนวนมาก ภายในงานยังมีบริการตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจวัดความดันตาอัตโนมัติชนิดไม่สัมผัส มีการตรวจคัดกรองภาวะหัวใจเต้นพลิ้ว ด้วยเครื่อง EKG ไว้บริการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายอีกด้วย ต้องขอขอบพระคุณ รศ.นพ.บัญชา ศันสนีย์วิทยกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยาให้ความรู้
ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา"ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF)"
 
ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา"ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF)"
          ประวัติท่านวิทยากร           
          
จบแพทยศาสตร์บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พศ.2530 หลังจากนั้น ได้ไปทำงานใช้ทุนให้รัฐบาลอยู่ 3 ปี หลังจากนั้นได้รับการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จนได้รับวุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์ในปี พศ. 2536 และสาขาอายุรศาสตร์โรคหัวใจในปี พศ. 2538 หลังจบเป็นผู้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจแล้ว ได้มีโอกาสไปรับการฝึกอบรมเพิ่มเติมทางด้านโรคหัวใจ ที่ Johns Hopkins University, school of Medicine, เมือง Baltimore, ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พศ. 2538-2539 ด้วยความรู้ความสนใจในด้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งในขณะนั้นในประเทศไทยมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้น้อยมาก ได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมเพิ่มเติมทางด้าน cardiac electrophysiology ที่ University of Southern California, เมือง Los Angeles, ประเทศสหรัฐอเมริกา และที่ Electrophysiology Research Institute, University of Oklahoma, ประเทศสหรัฐอเมริกา
ระหว่างปี พศ. 2543-2544 หลังจากนั้นได้กลับเข้ารับการบรรจุเข้าเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และเป็นอาจารย์พิเศษ หน่วยโรคหัวใจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ทางการรักษา การเรียนการสอนและการวิจัย ทางด้านโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ นพ.บัญชาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์พิเศษ ของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พศ. 2556 และในปี พศ. 2557 นี้ ได้รับประกาศนียบัตร FHRS ซึ่งมอบให้โดยสมาคมแพทย์โรคหัวใจเต้นผิดปกติ ของสหรํฐอเมริกา ในฐานะที่มีความรู้ความชำนาญและมีผลงานวิจัยอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา"ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF)"
 

ข่าวบัญชา ศันสนีย์วิทยกุล+หัวใจเต้นผิดจังหวะวันนี้

ภาพงานสัมมนา การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ วันที่ 28-2-58

ภาพงานสัมมนา การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ตอน "อุ่นใจ แม้อยู่ไกล และไม่ต้องเดินทาง การตรวจเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบทางไกล" วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ห้องประชุมอาคาร C ชั้น 10 โรงพยาบาลรามคำแหง โดย รศ.นพ.บัญชา ศันสนีย์วิทยกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรให้ความรู้

คลินิกหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรงพยาบาลรามคำแหง จัดสัมมนา “การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ”

คลินิกหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรงพยาบาลรามคำแหง ขอเชิญร่วมสัมมนา “การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ” ตอน “อุ่นใจ แม้อยู่ไกล และไม่ต้องเดินทาง การตรวจเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบทางไกล” โดย รศ...

ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา "ทำอย่างไร? เมื่อหั... ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา"ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF)" — ภาพบรรยากาศ งานสัมมนา "ทำอย่างไร? เมื่อหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (AF) " วันเสาร์ที่ 28 มิถุน...

พิธีเปิดคลินิกหัวใจเต้นผิดจังหวะ ณ อาคารซ... ภาพข่าว: พิธีเปิดคลินิกหัวใจเต้นผิดจังหวะ รพ.รามคำแหง — พิธีเปิดคลินิกหัวใจเต้นผิดจังหวะ ณ อาคารซี ชั้น 4 โรงพยาบาลรามคำแหง เมื่อวันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน 2...

ภาพข่าว: ไหลตาย-หัวใจตายเฉียบพลันมัจจุราชเงียบที่ไม่ควรมองข้าม !

ผู้ป่วย...มักมีอาการหัวใจเต้นรัวเร็วจนล้มเหลวและหยุดเต้นในที่สุด หากไม่ได้รับการช่วยชีวิตภายใน 4 นาทีผู้ป่วยจะต้องจากโลกไปก่อนวัยอันควร แพทย์แนะอาการหัวใจตายเฉียบพลันมักเกิดในผู้ป่วยโรคหัวใจ ดังนั้นผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงจึงควร...

Cryoablation เป็นเทคนิคการรักษาภาวะหัวใจเ... "Cryoablation จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น 3 มิติ รักษา "หัวใจเต้นผิดจังหวะ" — Cryoablation เป็นเทคนิคการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ทันสมัยและปลอดภัย โด...

หลายคนอาจยังไม่ทราบว่า โรคหัวใจเต้นผิดจัง... หัวใจเต้นผิดจังหวะ AF กับความเสี่ยง หลอดเลือดสมองอุดตัน — หลายคนอาจยังไม่ทราบว่า โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด AF (Atrial Fibrillation) สามารถเป็นต้นเหตุของภา...

ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ย... ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3 เท่า — ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3 เท่า "ใจสั่นนิดหน่อย ไม่เ...

"จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น" (Cryoablati... "จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น" (Cryoablation) รักษา "โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ" — "จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น" (Cryoablation) รักษา "โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ" เห...

ภาพงานแถลงข่าว 10 ปี ศูนย์หัวใจ และก้าวสู่ปีที่ 25 โรงพยาบาลรามคำแหง

งานแถลงข่าว 10 ปี ศูนย์หัวใจ และก้าวสู่ปีที่ 25 โรงพยาบาลรามคำแหง พร้อมงานเสวนา “ภารกิจกู้หัวใจ ครอบครัวสดใส ดูแล หลอดเลือดหัวใจให้แข็งแรง” ที่ ห้องประชุมชั้น 10 อาคารซี โรงพยาบาลรามคำแหง โดยนพ.วิชัย ศรีมนัส, รศ.นพ.วสันต์ อุทัยเฉลิม...