ม.รังสิต จัดงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง The 1st Thai-Lao Economic Cooperation Workshop: Moving Forward with the AEC

กรุงเทพฯ--7 มิ.ย.--มหาวิทยาลัยรังสิต

เนื่องด้วยปัจจัยทางการเมือง และความขัดแย้งในสังคม จะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยและภาคการลงทุน ทางคณะเศรษฐศาสตร์และศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้จัดงานแถลงข่าวเพื่อเผยแพร่การวิเคราะห์ แนวโน้มเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง และผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองต่อการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ในวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2556 เวลา 11.15 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม 7-100 ชั้น 1 อาคารหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ปทุมธานี นอกจากนี้ทางคณะเศรษฐศาสตร์ และศูนย์วิจัยเศรษฐกิจฯ ได้มีการจัดงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง The 1st Thai-Lao Economic Cooperation Workshop: Moving Forward with the AEC ในวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2556 เวลา 08.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม 7-100 ชั้น 1 อาคารหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ปทุมธานี อีกด้วย คณะเศรษฐศาสตร์ ม.รังสิต โทร.02-997-2222 ต่อ 1002, 1008, และ 1038 โทรสาร 02-533-9695 กำหนดการ 8.30-9.00 ลงทะเบียน The First Session: Morning Session (in English) 9.00-9.30 Opening Ceremony "ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: โอกาสและความท้าทาย" “AEC: Opportunities and Challenges” ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และบริการวิชาการ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 9.30 -10.00 "Access to Finance and SMEs: Key Issues and Policy Implications: A Study of 8 East AsianEconomies" Associate Professor Dr. Charles Harvie ผู้อำนวยการศูนย์ธุรกิจขนาดเล็กและการวิจัยภูมิภาค ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวูลลองกอง ประเทศออสเตรเลีย 10.00 -10.30 "Impact of Trade Liberalization on Pollution and Poverty in Lao PDR- Empirical Results from CGE Model and Micro-Simulation" Associate Professor Dr.Phouphet Kyophilavong ผู้อำนวยการส่วนงานวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ และการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว 10.30 - 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 -11.15 "Do Immigrants Improve Thailand’s Competitiveness?: An Evidence from Thai Manufacturers" ศ.ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ รองคณบดีวิทยาลัยนานาชาติ ศาสตราจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ The Second Session (Press Conference): Thailand Economic Forecast (in Thai) 11.15 - 12.00 "แนวโน้มเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง: โอกาสและความท้าทาย” “ผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองต่อการเติบโตของเศรษฐกิจไทย” ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.วรรณกิตติ์ วรรณศิลป์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย The Third Session: Afternoon Session (in English) 13.00 - 13.30 "Opportunities and Challenges for Lao Economy" Associate Professor Sengchanh Chanthasene รองคณบดี คณะเศรษฐศาสตร์และการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว 13.30 - 13.50 "Factors Affecting the Technical Inefficiency of Thai Manufacturing and Exporting Small and Medium Sized Enterprises: A Stochastic Frontier Analysis (SFA)" ดร.ยศ อมรกิจวิกัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 13.50 - 14.10 "Exchange Rate Pass Through and Degree of Openness: An Empirical Exercise" ดร.วรรณกิตติ์ วรรณศิลป์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฎิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 14.10 - 14.30 "An Empirical Analysis of Thai Manufacturing SMEs: Evidence from Industrial Censuses in 1997 and 2007" ดร.ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์ ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการการเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรมเพื่อ SMEs ในภูมิภาคอาเซียน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย 14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 - 15.05 "Effects of Cognitive and Non-cognitive Skills on Earning Outcomes: A Case Study of Khonkaen Province, ผศ.ดร.จงรักษ์ หงส์งาม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15.05 - 15.25 "Economic Structural Change in Aged Society of Thailand" ดร.เทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 15.25 - 15.45"Trade Liberalisation, Labour Productivity, Growth and Skilled Labour Complement: Evidence from the Thai Manufacturing Sector" นายปิยะพงษ์ แสงแก้ว คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 15.45 - 16.00 ปิดการสัมมนา -นท-

ข่าวศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ+มหาวิทยาลัยรังสิตวันนี้

ผลกระทบเงินหยวนอ่อนค่าและการกลับตัวทางนโยบายเศรษฐกิจของจีน

ผลกระทบเงินหยวนอ่อนค่าและการกลับตัวทางนโยบายเศรษฐกิจของจีนรับมือสงครามการค้าส่งผลอย่างมีนัยยสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย เสนอให้มียุทธศาสตร์ทางการค้าเพื่อรับมือความท้าทายดังกล่าว 15.00 น. 12 ส.ค. พ.ศ. 2562 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฎิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดเผยว่า

เสนอปฏิรูประบบภาษีลดภาระชนชั้นกลางและคนจน

นโยบายต่างๆของรัฐบาลใหม่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก รัฐจำเป็นต้องขยายฐานภาษีและเก็บภาษีเพิ่มเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาวิกฤติฐานะทางการคลัง เสนอเก็บภาษีจากฐานทรัพย์สิน เพื่อไม่กระทบต่อกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและชนชั้นกลางแบกรับภาระภาษีมากอยู่แล้วเมื่อเทียบสัดส่วนรายได้...

บทเรียนครบรอบ 22 ปีวิกฤตการณ์เศรษฐกิจปี 2540: วิกฤติเศรษฐกิจจะซ้ำรอยหรือไม่?

เตือนปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง วิกฤติรัฐธรรมนูญและระบบนิติรัฐ ความเหลื่อมล้ำ ความยากลำบากของเศรษฐกิจฐานราก และปัญหาฐานะทางการคลังจะทำให้วิกฤติเศรษฐกิจในอนาคตมีความแตกต่างและซับซ้อนกว่าวิกฤติปี 2540 11.00 น. 2 ก.ค. 2562...

ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประเมินทิศทางเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยช่วงครึ่งปีหลังในปี พ.ศ. 2562

ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประเมินทิศทางเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยช่วงครึ่งปีหลังในปี พ.ศ. 2562 ว่า...

เศรษฐกิจการศึกษาว่าด้วยการนำสถาบันการศึกษาเข้าตลาดหุ้น บทบาทของรัฐและบทบาทของกลไกตลาดในการจัดการการศึกษา

16.00 น. 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ที่ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก คณะเศรษฐศาสตร์ และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์...

ผลของ Soft Brexit ต่อเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยไตรมาสสี่

แม้นสหราชอาณาจักรสามารถบรรลุข้อตกลงรูปแบบความสัมพันธ์ใหม่กับสหภาพยุโรปก่อนออกจากอียูในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562 แต่ยังมีความไม่แน่นอนจากปัญหาการเมืองภายในประเทศของอังกฤษ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสสี่ของไทยยังคงเติบโตต่ำกว่า 4% ต่อ...

สงครามการค้าสหรัฐอเมริกา-จีนลุกลามสู่การแ... NIDA Poll “อนาคตทางการเมืองของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” — สงครามการค้าสหรัฐอเมริกา-จีนลุกลามสู่การแข่งขันลดค่าเงินมากขึ้น กระทบเศรษฐกิจการค้าโลกและภาคส่งอ...

สงครามการค้าสหรัฐอเมริกา-จีนลุกลามสู่การแข่งขันลดค่าเงินมากขึ้นกระทบเศรษฐกิจการค้าโลกและภาคส่งออกไทยปีหน้า ความรุนแรงของสงครามทางการค้าถูกยกระดับขึ้น

28 ต.ค. 2561 เวลา 16.00 น. ที่ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป ผศ. ดร....

ผลกระทบวิกฤติเศรษฐกิจและค่าเงินตลาดเกิดใหม่ และ สงครามการค้ารุนแรงขึ้น ต่อเศรษฐกิจไทย

วิกฤติเศรษฐกิจและการดิ่งลงของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่จะส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯแข็งค่าขึ้น เงินบาทแข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นๆยกเว้นดอลลาร์สหรัฐฯ ไม่ควรรีบปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ส่วนผลกระทบสงครามการค้ารุน...