พิธีลงนาม MoU คณะวิศวกรรมศาสตร์ และบริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด อุตสาหกรรมและการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

เมื่อวันจันทร์ที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์8 พฤศจิกายน พัฒนากำลังคน567 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับบริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีดิจิทัล (Bachelor of Engineering in Computer Engineering and Digital Technology) เพื่อพัฒนารูปแบบความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมและการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเป็นระบบ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ คณบดีคณะวิศกรรมศาสตร์ และ คุณธวัชชัย อิงบุญมีสกุล (วศ.จุฬาลงกรณ์ พัฒนากำลังคน54คณะวิศวกรรมศาสตร์) ประธานเจ้าหน้าที่บริหา บริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด เป็นผู้ลงนามร่วมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถวิทย์ สุดแสง หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ คุณสุกิต เอี่ยมองอาจ เป็นพยาน

พิธีลงนาม MoU คณะวิศวกรรมศาสตร์ และบริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด อุตสาหกรรมและการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

ความร่วมมือครั้งนี้มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเป็นระบบ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมดิจิทัลในประเทศไทยและภูมิภาค โดยเฉพาะในด้านปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีขั้นสูง พิธีลงนาม MoU คณะวิศวกรรมศาสตร์ และบริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด อุตสาหกรรมและการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล

บริษัท บอทแอนด์ไลฟ์ จำกัด เป็นผู้นำด้านนวัตกรรม AI และการพัฒนาแอปพลิเคชันระดับภูมิภาค โดยเป็นผู้พัฒนา "แสนดี AI" แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ที่ประสบความสำเร็จในการให้บริการครอบคลุม 4 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย ลาว ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย

การจับมือกันครั้งนี้นับเป็นก้าวสำคัญในการเสริมสร้างระบบนิเวศด้านการศึกษาและอุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งจะช่วยเร่งการผลิตบุคลากรคุณภาพสูงเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของภูมิภาค


ข่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+คณะวิศวกรรมศาสตร์วันนี้

รู้เท่าทันก๊าซเรดอน ภายหลังเหตุแผ่นดินไหว อาจารย์วิศวฯ นิวเคลียร์ จุฬาฯ แนะตรวจปริมาณเรดอนที่อาจแทรกผ่านรอยแยกอาคารได้

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 แรงสั่นสะเทือนส่งผลต่อประเทศไทยทำให้เกิดความเสียหายของอาคารต่าง ๆ โดยเฉพาะเขตเมืองที่ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อนอย่างกรุงเทพมหานครย่อมมีโอกาสที่รอยแยกใต้พื้นดินจะเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคืออาจส่งผลให้ก๊าซเรดอนที่อยู่ใต้พื้นดินฟุ้งกระจายเข้าสู่ที่อยู่อาศัยและอาคารต่าง ๆ เพิ่มขึ้นได้ อาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ข้อสังเกตที่น่าสนใจเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดิน

NT ปลื้มเปิดตัว NT Metaverse ศูนย์บริการใ... NT ร่วมกับ จุฬาฯ เปิดตัวแพลตฟอร์มศูนย์บริการ NT Metaverse — NT ปลื้มเปิดตัว NT Metaverse ศูนย์บริการในโลกเสมือน พร้อมโชว์ผลงานสนับสนุนทุนวิจัยและโครงสร้าง...

"วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระ... "วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระดับประเทศ สร้างความยั่งยืนให้องค์กร — "วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระดับประเทศ สร้างความยั่งยืนให้องค์ก...

กลับมาอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้งกับงานเปิดบ้าน... Intania Expo 2025 งานเปิดบ้านครั้งยิ่งใหญ่ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย — กลับมาอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้งกับงานเปิดบ้านสุดอลังการกับ Intania Exp...

CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO... CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO เปิดตัว Chula-MIT LGO หลักสูตรปริญญาโทสุดล้ำ — CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO เปิดตัว Chula-MIT LGO ห...