ในยุคของ "สังคมผู้สูงวัย" ไม่เพียงแต่จำนวนผู้สูงวัยที่มากขึ้นเท่านั้น แต่เขาเหล่านั้นยังต้องการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นด้วย ภาวะข้อเข่าเสื่อมเป็นอีกหนึ่งภาวะสำคัญที่เป็น "อุปสรรค" ต่อการใช้ชีวิต โดยเฉพาะผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมระยะรุนแรงจะมีอาการปวดเข่ามากเวลาลุกยืน เดิน และขึ้น-ลงบันได
สำหรับผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อมที่ได้รับการรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานยาลดการอักเสบ การฉีดยาสเตียรอยด์หรือน้ำเลี้ยงข้อเข่าเทียม แล้วไม่ได้ผลดีนั้น มีความจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเพื่อให้สามารถลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพของข้อเข่าให้กลับมาใช้งานได้ดียิ่งขึ้น
เทคนิคการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมแบบเดิมนั้น จำเป็นต้องตัดกล้ามเนื้อข้อเข่า (Vastus muscle) บางส่วนออก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการเหยียดข้อเข่า ลุกยืน และขึ้นบันได ทำให้ในปัจจุบันเทคนิค "การผ่าตัดข้อเข่าเทียมแบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ" (Subvastus approach total knee arthroplasty) นั้นได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมมากขึ้น เริ่มจากประเทศในแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกาขยายเป็นวงกว้างมากขึ้น เป็นการผ่าตัดด้วยวิธีการเปิดช่องใต้กล้ามเนื้อข้อเข่า โดย "ไม่ตัดกล้ามเนื้อ" ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคแบบเดิมนั้น จะส่งผลดีทำให้
ภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมก่อนกลับบ้าน ผู้ป่วยจะสามารถลุกยืนเดินลงน้ำหนักเต็มที่ด้วยไม้เท้าสี่ขาเองได้ และเมื่อระยะเวลาประมาณ 1 เดือนหลังผ่าตัด ผู้ป่วยจะมีความมั่นใจสามารถเดินโดยไม่ใช้ไม้เท้า และสามารถเดินขึ้นลงบันไดได้
ดังนั้นการผ่าตัดข้อเข่าเทียมด้วยเทคนิคแบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ จึงเป็นทางเลือกใหม่ที่สามารถช่วยให้ผู้ที่มีภาวะ ข้อเข่าเสื่อมระยะรุนแรง กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ครับ
"เทคนิคการผ่าตัดข้อเข่าเทียมแบบไม่ตัดกล้ามเนื้อทางเลือกใหม่ที่จะทำให้ท่านมั่นใจ และกลับมาใช้ข้อเข่าได้ดีขึ้นอีกครั้ง"
นพ.นคริน สายหยุดทอง ศัลยแพทย์กระดูกและข้อเฉพาะทางข้อสะโพกและข้อเข่า ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลหัวเฉียว
เมื่อข้อเข่าได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง ไม่ว่าจะมาจากการอักเสบของข้อเข่าหรืออุบัติเหตุ ผู้ป่วยอาจรู้สึกปวดขณะเดิน หรือขึ้น-ลงบันได และหากอาการรุนแรงขึ้น อาจปวดแม้ในขณะนั่งหรือนอน การรักษาเบื้องต้นอาจเริ่มจากการปรับเปลี่ยนการใช้งานข้อเข่า การใช้ยาลดการอักเสบ หรืออุปกรณ์ช่วยเดิน เช่น ไม้เท้าพยุง หากวิธีเหล่านี้ไม่สามารถบรรเทาอาการได้ อาจจำเป็นต้องพิจารณาการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ปัจจุบันเทคโนโลยีหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดถูกนำมาใช้ในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เพื่อเพิ่มความแม่นยำและความปลอดภัย ช่วย
4 ขั้นตอน หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทำงานอย่างไร?
—
4 ขั้นตอน หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทำงานอย่างไร? หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข...
ทีมแพทย์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ รพ.มหาวิทยาลัยพะเยา ยกระดับการรักษา ผ่าตัดข้อเข่าเทียมด้วยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด ประสบความสำเร็จ
—
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยพะเยา คณะ...
Special Promotion ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม และศัลยกรรมหลอดเลือด สำหรับสิทธิข้าราชการ ที่ รพ. บี.แคร์ฯ
—
รพ. บี.แคร์ฯ ร่วมโครงการเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง ข...
โรงพยาบาลพระรามเก้า ชวนเจาะลึกเรื่องจริง กับ "ข้อใหม่ ชีวิตใหม่" ใน "สัมมนาครบรอบ 4 ปี ศูนย์รักษ์ข้อ" เพื่ออิสระการเคลื่อนไหว สู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
—
โรงพยาบาลพร...
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้วยหุ่นยนต์อัจฉริยะแบบแผลเล็ก Robotic Assisted Total Knee Arthroplasty
—
อาการปวดข้อสร้างความทุกข์ทรมาน และเป็นอุปสรรคในการด...
"ทางเลือกใหม่ของการเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้วย.. เทคนิคผ่าเปลี่ยนข้อเข่าแบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ"
—
ในยุคของ "สังคมผู้สูงวัย" ไม่เพียงแต่จำนวนผู้สูงวัยที่มากขึ้นเท...
โรงพยาบาลนครธน "ผ่าตัดปลอดภัย มั่นใจนครธน" แบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายมอบสิทธิพิเศษ ฟรี 5 รายการ
—
โรงพยาบาลนครธน ย่านพระรามที่ 2 ที่มุ่งให้บริการทางการแพทย์ที่...
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
—
เพราะข้อเข่ามีบทบาทสำสำคัญในการเคลื่อนไหวของร่างกาย ดังนั้นการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจึงเป็นเรื่องสำคัญของผู้ป่วยด้วย...
การผ่าตัดข้อเข่า - Chersery Home
—
ถ้ากล่าวถึงการผ่าเข่าในผู้สูงอายุที่พบบ่อยๆ ส่วนใหญ่จะมาจากอาการข้อเข่าเสื่อม จากสถิติของกรมการแพทย์.(2561) พบว่า...