หลังจากประกาศรับสมัคร โครงการประกวดนวัตกรรมอาหารฉายรังสี ภายใต้แนวคิด อาหารพื้นถิ่นไทย พัฒนาได้ ด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ชิงทุนการศึกษา มูลค่า 130,000 บาท โดยสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร ก็มีน้องๆ นิสิต นักศึกษา ให้ความสนใจและสมัครเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมา ทาง สทน.จึงได้คัดเลือกผลงานในรอบแรกเพื่อดำเนินการในขั้นต่อไป โดยการคัดเลือกในรอบนี้ ได้รับเกียรติจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายๆ ภาคส่วนเข้าร่วมการคัดเลือก อาทิ .ดร.กนกพร บุญศิริชัย หัวหน้าฝ่ายวิจัยนิวเคลียร์ สทน./ คุณอมรพันธ์ กลั่นจุ้ย ที่ปรึกษาอาวุโส เมืองนวัตกรรมอาหาร / คุณวราภรณ์ คุ้มกนกรัตน์ ผจก.ฝ่ายศูนย์นวัตกรรม บ.ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) / ดร.เดวิด มกรพงษ์ บริษัท เดวิด เอนเตอร์ไพร์ส แอนด์ ดีวีลอปเมนต์ จำกัด และ คุณสุทธิพงษ์ สุริยะ บริษัท ขาบสไตล์ จำกัด
ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกรอบแรก ได้แก่
รุ่นอุดมศึกษา (ระดับปริญญาตรี)
1.ทีม SU POWER UP ผลงาน ข้าวเหนียวเห็ดหอมสอดไส้น้ำพริกอ่อง
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
2.ทีม PUTA (ปาทู) ผลงาน อ่องปูนาฉายรังสี
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
3.ทีม ใครไม่คัดมังคุดคัด ผลงาน มังคุดคัดฉายรังสี
มหาวิทยาลัยมหิดล
4.ทีม FMB ผลงาน ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเนื้อปลาส้มฉายรังสี
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
5.ทีม ข้าวแต๋น แต่นแตนแต๊น ผลงาน ข้าวแต๋นปักษ์ใต้
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
รุ่นบัณฑิตศึกษา (ระดับปริญญาโทและเอก)
1.ทีม ยิ่งฉาย ยิ่ง Shine ผลงาน หรอยแรง หนมจีนไม่ไร้น้ำยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2.ทีม MU Innovator ผลงาน MoldiBean (ผลิตภัณฑ์เทมเป้ถั่วไทยผสม)
มหาวิทยาลัยมหิดล
โดยทุกทีมที่ผ่านเข้ารอบ ได้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และเยี่ยมชมโรงงานฉายรังสี พร้อมทั้งเข้าร่วมฟังบรรยายแนวโน้มการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารในปัจจุบันและอนาคต ณ ศูนย์ฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สำนักงาน คลองห้า เทคโนธานี เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาชิ้นงานสำหรับรอบชิงชนะเลิศต่อไป
ติดตามความเคลื่อนไหวของโครงการได้ที่ www.tint.or.th และ www.facebook.com/thai.nuclear
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จัดโครงการ "พุทธศิลป์ พุทธศึกษา จากพระพุทธปฏิมาสู่การอนุรักษ์" เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2567 ณ วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อถวายความรู้แด่พระสังฆาธิการ พระสงฆ์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 72 พรรษา โดยมี ศ.ดร.ขำคม พรประสิทธิ์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และ ดร.กนกพร บุญศิริชัย รองผู้อำนวยการสถาบันเทคโน
ปตท. ผนึก สทน. ผลักดันโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาด้านพลาสมาและเทคโนโลยีฟิวชัน มุ่งยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา ภายในปี พ.ศ. 2570
—
ดร.บุรณิน ร...
สทน.ลงพื้นที่จัดอบรม พร้อมให้คำปรึกษาผู้ประกอบการ "ปลาสลิด" จ.สมุทรปราการ มุ่งเป้ายกระดับคุณภาพความปลอดภัย ด้วยเทคโนโลยีการฉายรังสี
—
สทน.ลงพื้นที่จัดอบรม...
วช. หนุน สทน. และ ม.นเรศวร เปิดตัวส้มโอ ฉายรังสี ก่อนส่งออกไปสหรัฐอเมริกา
—
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรร...
NCL คว้างานจัดส่งเภสัชภัณฑ์รังสีสำหรับ รพ.กรุงเทพและตจว.
—
บมจ.เอ็นซีแอล อินเตอร์เนชั่นแนล โลจิสติกส์ (NCL) ผู้ให้บริการจัดการระบบโลจิสติกส์ ครบวงจร (Logi...
วช. จับมือ สทน. และ 3 ราชภัฏ ยกระดับ "อาหารไทยภาคเหนือ" ด้วยการฉายรังสี
—
5 หน่วยงานในกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้แก่ สำนักงานการว...
วศ. จับมือ สทน. ขยายขอบข่ายความมือด้านการวิจัยและพัฒนาตอบโจทย์ความต้องการขอประเทศ
—
5 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องอัครเมธี ชั้น 6 อาคารตั้ว ลพานุกรม คณะผู้บริหา...
สทน. เปิดอาคารและเครื่องฉายรังสีอิเล็กตรอนแห่งใหม่
—
รศ.นพ. สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร. ทวีศักดิ์ กออนั...
สทน. พร้อมเดินเครื่องฉายรังสีอิเล็กตรอนแห่งใหม่ คาดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจากสินค้าฉายรังสีถึง 5,000 ล้านบาทต่อปี
—
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์...
สทน.ประกาศผลผู้เข้ารอบ โครงการประกวดนวัตกรรมอาหารฉายรังสี ภายใต้แนวคิด อาหารพื้นถิ่นไทย พัฒนาได้ ด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์
—
หลังจากประกาศรับสมัคร โครงการป...