ปัจจุบันประเทศไทยพบว่ามีอัตราการเสียชีวิตอุบัติเหตุบนท้องถนนสูงขึ้นทุกปี โดยเฉพาะช่วงเทศกาลวันหยุดยาว หลายๆ คนเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัด และใช้เวลาในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนเป็นเวลานาน หรือดื่มแอลกอฮอล์แล้วขับขี่ยานพาหนะ ส่งผลให้เกิดการหลับในขึ้น
แพทย์หญิงปรียานุช สุวลักษณ์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ศูนย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลหัวเฉียว กล่าวว่า ภาวะง่วงนอนขณะขับขี่ยานพาหนะ หรืออาการหลับใน มีความสำคัญเทียบเท่าการขับขี่ยานพาหนะขณะเมาสุรา ก่อให้เกิดอันตรายอย่างยิ่งต่อชีวิตและทรัพย์สินของทั้งตัวผู้ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนนทุกคน ภาวะง่วงนอนเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ การทำงานเป็นกะ หรือการเข้าเวรติดต่อกันเป็นเวลานาน สมองจะสั่งการในการทำงานได้ไม่เต็มที่ อาจทำให้วูบหลับลงไปโดยไม่รู้ตัว ร่างกายของคนเราต้องการอาหาร น้ำ และการนอนหลับพักผ่อนให้เหมาะสม เพื่อทำให้ร่างกายมีประสิทธิภาพต่อการทำกิจวัตรประจำวันในแต่ละวัน หากเราฝืนร่างกายโดยการอดนอนอดอาหาร อาจส่งผลให้เกิดอันตรายและนำไปสู่การเสียชีวิตได้
สัญญาณที่บ่งบอกว่ามีภาวะง่วงนอนขณะขับขี่ยานพาหนะ ปรียานุช สุวลักษณ์.จำเหตุการณ์ขณะขับขี่ยานพาหนะในระยะทางใกล้ๆ ที่ผ่านมาไม่ได้ โรงพยาบาลหัวเฉียว.ขับขี่ยานพาหนะออกนอกเส้นทาง เวชศาสตร์ฉุกเฉิน.ไม่มีสมาธิในการขับขี่ 4.มีอาการหาวบ่อยขณะขับขี่ 5.รู้สึกง่วงนอนแล้วฝืนไม่ให้หลับ เป็นต้น
การปฏิบัติตัวเมื่อพบสัญญาณเหล่านี้ ควรหยุดขับขี่ยานพาหนะและหาสถานที่ปลอดภัยจอดรถงีบหลับพักผ่อน และหลีกเลี่ยงการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือยาประเภทที่ส่งผลให้ความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะน้อยลง
ปัจจุบัน ศูนย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลหัวเฉียว มีทีมแพทย์ พยาบาลและบุคลากรฉุกเฉินที่ได้รับการฝึกอบรมด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน มุ่งมั่นให้การดูแลผู้ป่วยด้วยคุณภาพมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยเป็นสำคัญ พร้อมทีมกู้ชีพช่วยเหลือ มีบริการรถ Mobile ICU เพื่อรองรับผู้บาดเจ็บ ผู้ป่วย หรือสถานการณ์ฉุกเฉิน ตลอด โรงพยาบาลหัวเฉียว4 ชั่วโมง สายด่วนศูนย์หัวเฉียวพิทักษ์ชีพ โทร. อุบัติเหตุบนท้องถนน8ปรียานุช สุวลักษณ์-87อุบัติเหตุบนท้องถนน-เวชศาสตร์ฉุกเฉิน5เวชศาสตร์ฉุกเฉิน8-4อุบัติเหตุบนท้องถนน
ปัจจุบันประเทศไทยพบว่ามีอัตราการเสียชีวิตอุบัติเหตุบนท้องถนนสูงขึ้นทุกปี โดยเฉพาะช่วงเทศกาลวันหยุดยาว หลายๆ คนเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัด และใช้เวลาในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนเป็นเวลานาน หรือดื่มแอลกอฮอล์แล้วขับขี่ยานพาหนะ ส่งผลให้เกิดการหลับในขึ้น แพทย์หญิงปรียานุช สุวลักษณ์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ศูนย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลหัวเฉียว กล่าวว่า ภาวะง่วงนอนขณะขับขี่ยานพาหนะ หรืออาการหลับใน มีความสำคัญเทียบเท่าการขับขี่ยานพาหนะขณะเมาสุรา ก่อให้เกิดอันตรายอย่างยิ่งต่อชีวิตและทรัพย์สินของทั้งตัวผู้ขับขี่
สติงค์ เอเนอร์จี้ดริ๊งก์จับมือพันธมิตร เปิดตัวโครงการ "เติมแรงถึงใจ…ส่งคุณปลอดภัยถึงบ้าน" ตั้ง "ที่หยุด จุดชาร์จพลัง"
—
สติงค์ เอเนอร์จี้ดริ๊งก์จับมือพันธ...
คปภ. ปรับโฉมกรมธรรม์รถยนต์สันดาปใหม่! เริ่มใช้ทั่วประเทศ มกราคม 69 เพิ่มส่วนลดเบี้ยประกัน - ส่งเสริมการขับขี่ปลอดภัย มุ่งลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
—
นายชูฉัตร ป...
"แบรนด์ซุปไก่สกัด" ร่วมรณรงค์ โครงการ "สมองล้า อย่าขับพักดื่มแบรนด์"
—
"แบรนด์ซุปไก่สกัด" ร่วมรณรงค์ โครงการ "สมองล้า อย่าขับพักดื่มแบรนด์" ผนึกกำลัง "ตำร...
ครั้งแรกในไทย ไอ.พี. วัน เปลี่ยนซองไฮยีน และเสื้อผ้าใช้แล้ว เป็นนวัตกรรม "รองเท้าเรืองแสง รีไซเคิลรักษ์โลก" THE GLOWING SNEAKERS
—
ไอ.พี. วัน (I.P. ONE) ผ...
ทุนง่วงอย่าขับฯ วอนภาครัฐให้ความสำคัญอุบัติเหตุบนท้องถนนจากง่วงหลับใน
—
เผยผลสำรวจ 28% คนขับรถโดยสาร/รถบรรทุกยอมรับเคยหลับในขณะรถกำลังวิ่ง เตือน หากยังไม่...
เฮงลิสซิ่ง ช่วยให้การซื้อประกันรถยนต์เป็นเรื่องง่าย ได้ที่ 1,018 สาขาทั่วไทย
—
บริษัท เฮงลิสซิ่ง แอนด์ แคปปิตอล จำกัด (มหาชน) หรือ เฮงลิสซิ่ง ผู้ให้บริการ...
เกียรติธนา ขนส่ง ร่วมกับ ปตท. และหน่วยงานภาครัฐ ซ้อมรับมืออุบัติเหตุบนท้องถนน
—
เมื่อเร็วๆ นี้ บมจ. เกียรติธนา ขนส่ง หรือ KIAT ผู้นำในการให้บริการด้านการข...