โดยทั่วไป การบำบัดน้ำเสียเพื่อผลิตเป็นก๊าซชีวภาพต้องผ่านกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจน โดยอาศัยการทำงานร่วมกันของกลุ่มแบคทีเรียหลากหลายชนิด เพื่อย่อยสิ่งปฏิกูลซึ่งเป็นสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ จำพวกแป้ง ไขมัน โปรตีน ให้เป็นสารอินทรีย์โมเลกุลเล็ก จนกระทั่งเกิดเป็นก๊าซมีเทน หรือก๊าซชีวภาพ ซึ่งเป็นแหล่งพลังานทดแทนและเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งในการลดตุ้นทุนทางพลังงาน เช่น นำไปใช้เป็นก๊าซหุงต้ม หรือนำไปบรรจุอัดเป็นเชื้อเพลิงเหลว เป็นต้น ดร.สราวุธ ชื่นค้า คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
"FoodSERP" ติดปีกอุตสาหกรรมความงาม เพิ่มมูลค่าข้าวไทยด้วยเทคโนโลยีการหมักแบบแม่นยำ
—
"FoodSERP" ติดปีกอุตสาหกรรมความงาม เพิ่มมูลค่าข้าวไทยด้วยเทคโนโลยีการ...
ร่วมยกระดับสินค้าBCGชุมชนเชิงพาณิชย์ เหล็กสหวิริยาMOUวิสาหกิจ-BEDOพัฒนา
—
บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ "เอสเอสไอ" โดยนายผดุงศักดิ์ ปราณ...
มหาวิทยาลัยมหิดล จับมือ สวทช. ร่วมกันพัฒนาระบบบริหารจัดการเผยแพร่ฐานข้อมูลพืช-ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน
—
มหาวิทยาลัยมหิดล โดย โครงการจัดตั้งสถาบันอุทยาน...
เบโด้ ลงพื้นที่วิสาหกิจชุมชนจังหวัดน่าน ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์จากฐานทรัพยากรชีวภาพ สร้างเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในชุมชน
—
นายสุวีร์ งานดี รองผู้อำนวยการสำนักงา...
BEDO หนุนวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ จังหวัดน่าน
—
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ BEDO (เบโด้) ให้ก...
ประกาศความพร้อม!!! "มหกรรมทรัพยากรชีวภาพและการสร้างโอกาสทางการตลาด"
—
ประกาศความพร้อม!!! "มหกรรมทรัพยากรชีวภาพและการสร้างโอกาสทางการตลาด" นางสุวรรณา เตียร...