นายณรงค์ เรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ กทม.เปิดเผยตามที่สื่อมวลชนเผยแพร่ภาพตลาดน้ำตลิ่งชัน ที่มีสภาพทรุดโทรมน้ำในคลองแห้งขอดเป็นโคลนเลนควรดำเนินการขุดลอกคูคลองเพื่อให้มีพื้นที่รับน้ำมากขึ้น รวมถึงจัดระเบียบการจัดที่จอดรถและปรับคุณภาพอาหารว่าจากการตรวจสอบคลองชักพระ บริเวณพื้นที่เขตตลิ่งชัน พบค่าระดับท้องคลองตื้นเขิน ซึ่งสำนักการระบายน้ำ
ได้รับงบประมาณประจำปี 2563 ดำเนินการขุดลอกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบาย คาดจะเริ่มขุดลอกได้ในเดือนตุลาคม 2562
สำหรับการบริหารจัดการน้ำในคลองชักพระปัจจุบันสำนักการระบายน้ำจะเปิดปิดประตูระบายน้ำคลองชักพระเพื่อให้น้ำในคลองชักพระไหลเข้า - ออก สู่คลองบางกอกน้อยตามจังหวะการขึ้นลงของระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาแต่เมื่อระดับน้ำในคลองบางกอกน้อย มีระดับสูงกว่า +การบริหารจัดการน้ำ.8การบริหารจัดการน้ำ เมตร (จากระดับน้ำทะเลปานกลาง) ปิดประตูระบายน้ำคลองชักพระเพื่อป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่ด้านในส่วนในช่วงจังหวะน้ำลงก็จะเปิดประตูระบายน้ำ เพื่อให้น้ำด้านในคลองชักพระไหลเวียนถ่ายเทน้ำออกไป เพื่อเป็นการรักษาสภาพน้ำให้สะอาดต่อไป ด้าน นายชูชาติ สุวรรณนที ผู้อำนวยการเขตตลิ่งชัน กทม.กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับการจัดระเบียบที่จอดรถบริเวณตลาดน้ำตลิ่งชัน สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้อำนวยความสะดวกเรื่องสถานที่จอดรถให้กับประชาชนที่มาท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน โดยจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวตลาดน้ำ สามารถนำรถเข้ามาจอดบริเวณลานจอดรถสำนักงานเขตตลิ่งชันได้ในวันเสาร์ อาทิตย์ และบริเวณลานจอดรถริมทางรถไฟ สามารถรองรับรถได้ประมาณ 25การบริหารจัดการน้ำ คัน นอกจากนี้ได้ให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอำนวยความสะดวกผู้ค้านำรถมาขนถ่ายสินค้า ตั้งแต่เวลา การบริหารจัดการน้ำ4.การบริหารจัดการน้ำการบริหารจัดการน้ำ – การบริหารจัดการน้ำ8.การบริหารจัดการน้ำการบริหารจัดการน้ำ น. เพื่อจัดระเบียบรถผู้ค้าให้มีสถานที่รองรับนักท่องเที่ยว ส่วนการตรวจคุณภาพอาหาร และการควบคุมราคาอาหารภายในตลาดน้ำ ได้ดำเนินการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัยของอาหารอย่างต่อเนื่อง
พร้อมขอความร่วมมือผู้ค้าแสดงราคาอาหารที่จำหน่ายให้ผู้บริโภคได้ทราบและตัดสินใจเลือกได้อีกด้วย
นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ ที่เพิ่มสูงขึ้นว่า กทม. ได้ประสานความร่วมมือกับกรมชลประทานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ระดับน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาที่เพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ต้นเดือน ต.ค. 67 เป็นต้นมา โดยจัดประชุมติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำเป็นประจำทุกสัปดาห์ เพื่อวิเคราะห์ ติดตามคาดการณ์สภาพอากาศ ปริมาณฝน ปริมาณน้ำ รวมถึงการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำ
ปตท. สนับสนุนการบริหารจัดการน้ำท่วมพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน อย่างมีประสิทธิภาพ
—
นายประสงค์ อินทรหนองไผ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโต...
กทม.อัปเดตความพร้อมบริหารจัดการน้ำช่วงหน้าฝนปี 66
—
กรุงเทพมหานครเตรียมความพร้อมการบริหารจัดการน้ำ เพื่อรองรับสถานการณ์ฝนในปี 2566 ทั้งการขุดลอกคูคลองล...
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จับมือ ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ร่วมพัฒนาขีดความสามารถการบริหารจัดการน้ำ
—
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่นในการจั...
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ปลุกพลังครีเอเตอร์! ชวนนักเรียน นักศึกษาทั่วประเทศ ร่วมกิจกรรม Youth Groundwater Guardian ปีที่ 1 ชิงทุนการศึกษารวมกว่า 60,000 บาท
—
กรมทรัพยากร...
วว. ร่วมนำเสนอแนวทางจัดการขยะโดยใช้นวัตกรรม ระบบจัดการ เพื่อพัฒนาพื้นที่เกาะสีชัง ตามรูปแบบ "โมเดลสระบุรี sandbox"
—
พล.อ.อ.สถิตย์พงษ์ สุขวิมล ราชเลขานุกา...
คณะจากสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัดอุดรธานี ศึกษาดูงานโครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้าย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
—
คณะจากสำนัก...
กรมชลประทาน กับอีกหนึ่งโจทย์ที่ท้าทาย การบริหารจัดการน้ำเพื่อป้องกันสภาวะวิกฤตจากอุทกภัย
—
ในเวลานี้ทุกพื้นที่ทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา...