ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

          กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเซลส์ (TCELS) ฝ่ายโปรแกรมบริหารเภสัชภัณฑ์และเซลล์บำบัด จัดงานสัมมนา The Future on Your Fingertip with Regenerative Medicine หัวข้อ "โอกาส ความหวัง และความท้าทายของการรักษาด้วย Regenerative Medicine" ขับเคลื่อนการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของไทยด้วยเครือข่ายนักวิจัยเซลล์ต้นกำเนิด และการขึ้นทะเบียนเซลล์ต้นกำเนิดในประเทศไทย ณ ห้อง Pinwheel ชั้น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงแรมโฟร์พอยท์ บาย เชอราตัน กรุงเทพ สุขุมวิท กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี5 เมื่อเร็วๆ นี้
          ภายในงานได้จัดกิจกรรมประกวด โครงการ "Business Pitching: Stem Cell and Smart Regenerative Medicine" ได้รับสนใจจากอาจารย์ นักวิจัย หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน สมัครเข้าร่วมโครงการ โดยนำเสนอแนวคิดที่มุ่งเน้นในการนำเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ต่อไป
          ผลงานที่ชนะการประกวดโครงการ "Business Pitching: Stem Cell and Smart Regenerative Medicine"

          รางวัลที่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
          - โครงการ "การบริการตรวจหายารักษามะเร็งที่จำเพาะต่อผู้ป่วยโดยใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์ 3 มิติร่วมกับการตรวจพันธุกรรม" (Precision oncology service using 3D cell culture system and genomic studies) โดย ผศ.ดร.นพ.นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

          รางวัลที่ 2
          - โครงการ "การผลิตสเต็มเซลล์จากเนื้อเยื่อไขมันและการพัฒนาการรักษาเพื่อใช้ในการฟื้นฟูสภาพเต้านมในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและเพิ่มขนาดเต้านมในการทำศัลยกรรมตกแต่ง" (Adipose-derived stem cell manufacturing and treatment development for breast reconstruction in breast cancer patients and breast augmentation in plastic surgery) โดย รศ.ดร.ณัฐวัฒน์ อ่อนลมูล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

          รางวัลที่ 3
          - โครงการ "ไอเว็ท เพ็ทสเต็มเซลล์" (iVET Pet Stem Cell) โดย สัตวแพทย์หญิง วรางคณา พันธุ์วาณิช iVET animal hospital

          รางวัลที่ 4
          - โครงการ "การพัฒนากระบวนการรักษาด้วยวิธีเซลล์และยีนบำบัดในประเทศไทย" (Establishment of a Medical Hub for Cell and Gene Therapy in Thailand) โดย ศ.นพ.สุรเดช หงส์อิง ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์


ข่าวศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์+กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวันนี้

งานประชุมวิชาการสารอาหารและสารพฤกษเคมี

สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดงานประชุมวิชาการสารอาหารและสารพฤกษเคมี ครั้งที่ 1 ในวันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม 2562 เวลา 08.00 16.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ การจัดงานประชุมวิชาการครั้งนี้ เพื่อแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ในด้านการวิจัยทางโภชนาการรวมไปถึงการทดสอบเพื่อประกอบการขึ้นทะเบียนกับ อย. โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเซลส์ (TCELS) ฝ่ายโปร

ที่มา: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาตร์... ทีเซลส์ จับมือจุฬาฯ แถลงผลวิจัยสำเร็จใช้เซลล์นักฆ่ารักษาผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว — ที่มา: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศ...

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ค... ทีเซลส์ ขับเคลื่อนงานประชุมระดับนานาชาติ “หุ่นยนต์ทางการแพทย์” — กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรื...

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์คว... ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ — กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์ก...

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ค... ทีเซลส์ ขับเคลื่อนงานประชุมระดับนานาชาติ “หุ่นยนต์ทางการแพทย์” — กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรื...

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์คว... ทีเซลส์ ขับเคลื่อนการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของไทยด้วยเครือข่ายนักวิจัยเซลล์ต้นกำเนิด — กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (อ...