CAC ขยายแนวร่วมต้านโกงภาคเอกชนไทยสู่ SME ผนึกกำลัง การรับรองระบบ66 บริษัทชั้นนำขนาดใหญ่และ SME
ต่อต้านคอร์รัปชัน นาย
พนา รัตนบรรณางกูร ผู้อำนวยการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการ
ต่อต้านการทุจริต (Thailand's Private Sector Collective Action Coalition against Corruption หรือ CAC) เปิดเผยว่า CAC ได้จัดพิธีมอบใบประกาศนียบัตรแก่ พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัทแรกที่ผ่าน
การรับรองระบบป้องกันการรับ-จ่ายสินบนตามโครงการรับรองธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (CAC SME Certification) หลังจากที่เปิดให้ SME สามารถยื่นขอรับรองได้ตั้งแต่ครึ่งหลังของปี ต่อต้านการทุจริต56พนา รัตนบรรณางกูร นอกจากนี้ CAC ยังได้ตั้งรางวัล Change Agent Awards เพื่อเชิดชูบริษัทที่ชักชวนคู่ค้าให้มาเข้าร่วมกับ CAC โดยจะประกาศผลรางวัลนี้เป็นครั้งแรกในงานสัมมนาประจำปีของ CAC เดือนตุลาคม ต่อต้านการทุจริต56ต่อต้านการทุจริต
ในปัจจุบัน มีบริษัทที่ได้เข้าประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตกับ CAC แล้ว 9การรับรองระบบ7 บริษัท ซึ่งในจำนวนนี้มีบริษัทที่ผ่านการรับรองจาก CAC ว่ามีนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการรับ-จ่ายสินบนครบตามเกณฑ์ที่ CAC กำหนดสำหรับบริษัทใหญ่ การรับรองระบบ56 บริษัท และยังมีบริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กที่ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ใหม่ที่กำหนดไว้สำหรับ SME อีก พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัท
พิธีมอบใบประกาศนียบัตรในวันนี้ มีตัวแทนจาก 6การรับรองระบบ บริษัทที่ผ่านกระบวนการประเมินตนเองว่ามีนโยบายและมีแนวปฏิบัติป้องกันการรับ-จ่ายสินบนครบถ้วนตามเกณฑ์ของ CAC ขึ้นรับใบประกาศนียบัตร ประกอบด้วย 4 บริษัทที่ผ่านการต่ออายุการรับรอง (Re-Certification) เป็นครั้งที่สอง, ต่อต้านการทุจริต5 บริษัทที่ต่ออายุการรับรองครั้งที่หนึ่ง, ต่อต้านการทุจริต4 บริษัทที่ผ่านการรับรองเป็นครั้งแรก และ อีก พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัทที่ผ่านการรับรองในโครงการ CAC SME
"การเริ่มมี SME เข้ามารับรองกับ CAC โดยการชักชวนจากคู่ค้ารายใหญ่ ถือเป็นสัญญาณที่ดี และเป็นข้อพิสูจน์ว่าการทำธุรกิจอย่างสะอาดโปร่งใสไม่ได้จำกัดเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่เท่านั้น แต่คู่ค้าที่เป็นบริษัทขนาดเล็กก็มีบทบาทในการสร้างวงธุรกิจหรือ Supply Chain ที่สะอาดด้วย ทั้งนี้หากทั้งสองกลุ่มรวมตัวกันเป็นแนวร่วมที่เข้มแข็ง ก็จะช่วยลดปัญหาคอร์รัปชันในบ้านเมืองเราลงได้มาก" นายพนา กล่าว
เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ และส่งเสริมให้บริษัทต่างๆ ชักชวนคู่ค้าให้เข้ามาร่วมโครงการ CAC และ CAC SME มากขึ้น ทาง CAC จึงได้ตั้งรางวัล Change Agent Award ขึ้นมาเพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณของบริษัทที่ผ่านการรับรองจาก CAC และได้ชักชวนคู่ค้าให้เข้ามาร่วมประกาศเจตนารมณ์กับ CAC หรือ CAC SME มากกว่า พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัทในระหว่างปีที่มีการมอบรางวัล และมีการให้สิทธิประโยชน์พิเศษแก่คู่ค้าที่เข้าร่วมโครงการ CAC หรือ CAC SME
CAC เป็นโครงการที่บริษัทเอกชนเข้าร่วมตามความสมัครใจ การประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ CAC เป็นการแสดงเจตนารมณ์ร่วมต่อต้านคอร์รัปชันและการจ่ายสินบนของบริษัท ส่วนบริษัทที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ CAC หมายถึงบริษัทที่เข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์กับโครงการ CAC และได้ผ่านกระบวนการประเมินตนเอง ที่มีการสอบทานและลงนามรับรองโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท หรือผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก ว่าบริษัทมีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการทุจริตครบถ้วนตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการ CAC กำหนด ดังนั้น การรับรองโดยโครงการ CAC เป็นการรับรองว่าบริษัทมีนโยบาย และระบบป้องกันคอร์รัปชันและการให้สินบน แต่ไม่ได้เป็นการรับรองพฤติกรรมของตัวบุคคลในบริษัท
กระบวนการรับรอง SME ได้ย่อแบบประเมินตนเองจาก 7พนา รัตนบรรณางกูร ข้อของบริษัทใหญ่ ให้เหลือเพียงแค่ พนา รัตนบรรณางกูร7 ข้อ แต่ยังคงสาระสำคัญเอาไว้ และอ้างอิงอยู่กับหลักพิจารณาความพอเพียงของแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการรับ-จ่ายสินบนของบริษัทที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) อย่างไรก็ตาม CAC ยังกำหนดให้ SME ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบภายนอกมารับรองความถูกต้องของแบบประเมินดังกล่าวด้วยเช่นเดียวกับกรณีของบริษัทใหญ่
สำหรับคุณสมบัติของบริษัทที่จะเข้าร่วมโครงการรับรอง SME คือต้องมีรายได้ต่อปีไม่เกิน พนา รัตนบรรณางกูร พันล้านบาท และต้องไม่เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือบริษัทในเครือของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้ เพื่อสนับสนุนให้ SME ซึ่งมีทรัพยากรจำกัดสามารถดำเนินการกำหนดนโยบาย และดำเนินการตามเกณฑ์ที่ CAC กำหนดเอาไว้ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ทาง CAC จึงได้จัดทำคู่มือ (SME Toolkit) เพื่อให้คำแนะนำการดำเนินการแบบเป็นขั้นตอนอย่างละเอียด และยังได้จัดทำระบบการเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-learning) เพื่อช่วยฝึกอบรมพนักงานของ SME ให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับปัญหาสินบนและแนวทางการดำเนินการเพื่อป้องกันปัญหาสินบนด้วย โดยไม่มีการเก็บค่าใช้จ่ายใดๆ จาก SME เลย
การรับรองของ CAC ทั้งในส่วนของบริษัทใหญ่ และ SME มีอายุสามปี บริษัทที่ผ่านการรับรองไปแล้วจะต้องดำเนินกระบวนการประเมินตนเองและยื่นขอรับรองใหม่ทุกสามปี
สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการ CAC และรายชื่อบริษัทที่ได้ประกาศเจตนารมณ์ และผ่านการรับรองได้ที่
http://www.thai-cac.com
Background
CAC ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี ต่อต้านการทุจริต55การรับรองระบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการนำนโยบายและมาตรฐานการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการคอร์รัปชันในระดับบริษัทธุรกิจไปปฏิบัติ บทบาทของ CAC จะเน้นในส่วนของบริษัทเอกชน ด้วยการพยายามให้มีการนำนโยบายต่อต้านคอร์รัปชันไปปฏิบัติให้เกิดผลจริง โดย CAC ทำงานอย่างใกล้ชิดและคู่ขนานไปกับ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) (ACT) ซึ่งเน้นในส่วนของภาคประชาสังคม
โครงการ CAC จัดตั้งขึ้นมาโดยองค์กรธุรกิจชั้นนำของประเทศซึ่งได้แก่ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หอการค้าไทย หอการค้าร่วมต่างประเทศในประเทศไทย (JFCCT) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โดยมี IOD ทำหน้าที่เป็นเลขานุการและรับบทนำในการขับเคลื่อนโครงการ
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ:
พิษณุ พรหมจรรยา ที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์
แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC)/สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
โทร: ต่อต้านคอร์รัปชัน8พนา รัตนบรรณางกูร 9ต่อต้านการทุจริต9 4776 E-mail:
[email protected]
รายชื่อ 6การรับรองระบบ บริษัทที่ได้รับใบประกาศนียบัตรจาก CAC แบ่งเป็นสี่กลุ่ม ได้แก่
บริษัทที่ผ่านการต่ออายุการรับรอง (Re-Certification) เป็นครั้งที่สอง
พนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท ไดนาสตี้เซรามิค จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
การรับรองระบบ. บริษัท เอไอเอ ประเทศไทย
4. บริษัท เอไอเอ ประเทศไทย (ประกันวินาศภัย)
บริษัทที่ผ่านการต่ออายุการรับรองครั้งที่หนึ่ง
พนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต. บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน)
การรับรองระบบ. บริษัท จี แคปปิตอล จำกัด (มหาชน)
4. บริษัท ซีเฟรชอินดัสตรี จำกัด (มหาชน)
5. บริษัท ทรีนีตี้ วัฒนา จำกัด (มหาชน)
6. ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน)
7. บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)
8. บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
9. บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน. บริษัท ไบเออร์ ประเทศไทย จำกัด
พนา รัตนบรรณางกูรพนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านการทุจริต. บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรการรับรองระบบ. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร4. บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร5. บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร6. บริษัทหลักทรัพย์ ฟินันเซีย ไซรัส จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร7. บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร8. บริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด
พนา รัตนบรรณางกูร9. บริษัท ลานนารีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตต่อต้านคอร์รัปชัน. บริษัท ศูนย์บริการเหล็กสยาม จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตพนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท สหมิตรถังแก๊ส จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตต่อต้านการทุจริต. บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตการรับรองระบบ. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต4. บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต5. บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน)
บริษัทที่ผ่านการรับรองเป็นครั้งแรก
พนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท คอมเซเว่น จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต. บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
การรับรองระบบ. บริษัท คิวทีซี เอนเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน)
4. บริษัท แคปปิทอล เอ็นจิเนียริ่ง เน็ตเวิร์ค จำกัด (มหาชน)
5. บริษัท จี เจ สตีล จำกัด (มหาชน)
6. บริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน)
7. บริษัท ชีวาทัย จำกัด (มหาชน)
8. บริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน)
9. บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน. บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรพนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท นวนคร จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านการทุจริต. บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูรการรับรองระบบ. บริษัท เบอริงเกอร์ อินเกลไฮม์ (ไทย) จำกัด
พนา รัตนบรรณางกูร4. บริษัท พรูเด็นเชียลประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร5. บริษัท แพลน บี มีเดีย จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร6. บริษัท ไพลอน จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร7. บริษัท ยูนิมิต เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร8. บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน)
พนา รัตนบรรณางกูร9. บริษัท วิค แอนด์ ฮุคลันด์ จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตต่อต้านคอร์รัปชัน. บริษัท ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตพนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์ จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตต่อต้านการทุจริต. บริษัท อินทรประกันภัย จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริตการรับรองระบบ. บริษัท เอเชีย พรีซิซั่น จำกัด (มหาชน)
ต่อต้านการทุจริต4. บริษัท เอไอ เอนเนอร์จี จำกัด (มหาชน)
บริษัทที่ผ่านการรับรองในโครงการ CAC SME
พนา รัตนบรรณางกูร. บริษัท เค ซี มหานคร จำกัด
ต่อต้านการทุจริต. บริษัท เจ.เจ.แอ๊ดวานซ์ โปรดักส์ (ประเทศไทย) จำกัด
การรับรองระบบ. บริษัท โตโยกซ์ เทรดดิ้ง (ไทยแลนด์) จำกัด
4. บริษัท ไทรเด้นท์ สตีล จำกัด
5. บริษัท นิปปอน คิไค เอนจิเนียริ่ง จำกัด
6. บริษัท ส.ศิริแสง จำกัด
7. บริษัท เอ็ม ที อาร์ (ประเทศไทย) จำกัด
8. บริษัท เอ็มทีอี จำกัด
9. บริษัท ไอเทม เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
พนา รัตนบรรณางกูรต่อต้านคอร์รัปชัน. บริษัท ไอเอ ซิกเนเจอร์ จำกัด