ภาควิชาการตื่นตัวรับมือสถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 โดยจุฬาฯ ต่อยอดองค์ความรู้เทคโนโลยีร่วมดูแลสังคมด้วยโครงการวิจัย "PM 2.5 Sensor for All" พัฒนาต้นแบบเซ็นเซอร์เฟสแรกติดตั้งภายในและพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยเพื่อเก็บข้อมูลฝุ่น PM 2.5 โดยผ่านโครงข่าย LoRaWAN และ IRIS Cloud พร้อมทำโมเดลศึกษาเชิงลึกตอบโจทย์สร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหามลภาวะจากฝุ่น PM 2.5 อย่างยั่งยืน รศ.ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดีด้านยุทธศาสตร์นวัตกรรม และอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Envi Training Center เปิดลงทะเบียน ฝึกอบรมหลักสูตร "การใช้แบบจำลอง PM 2.5 เพื่อการจัดการคุณภาพอากาศ" (21 พ.ย. 2566)
—
Envi Training Center (ETC) เปิดลงทะเ...
จุฬาฯเร่งสร้าง Green Talents เดินสาย Roadshow หลักสูตร Innovative Engineering for Sustainability (IES) ที่อมตะซิตี้ ชลบุรี
—
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ...
พรีเมียร์ โพรดักส์ ร่วมสนับสนุนการอบรมกิจกรรม งานออกแบบกรุงเทพ 2566
—
บริษัท พรีเมียร์ โพรดักส์ จำกัด ( มหาชน ) ผู้จำหน่ายและติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสีย ถังบำ...
ไดกิ้น สนับสนุนอุปกรณ์วิจัย โครงการปรับปรุงระบบอากาศฯ มจธ. สร้างอากาศสะอาดลดการแพร่เชื้อ ในอาคารหน่วยงานรัฐ
—
มร.ไดสุเกะ มุราคามิ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท สยา...
ไดกิ้น สนับสนุนอุปกรณ์วิจัย โครงการปรับปรุงระบบอากาศฯ มจธ. สร้างอากาศสะอาดลดการแพร่เชื้อ ในอาคารหน่วยงานรัฐ
—
ไดกิ้น สนับสนุนอุปกรณ์สำหรับงานวิจัย ในโครงก...
สัมมนาออนไลน์ "ผลกระทบของน้ำทะเลหนุนต่อคุณภาพน้ำดิบ สำหรับผลิตน้ำประปาและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ"
—
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ศ.อรุณ สรเท...
นักศึกษาสถาบัน AIT ปิ๊งไอเดียเก็บ "กากกาแฟ" มาปั้นดินเผา 3 ประโยชน์! ปลูกต้นไม้-บำบัดน้ำเสีย-ลดขยะ
—
นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการ สถาบัน...
“นักวิจัย” แนะลดขยะทะเลไทย สร้างบุคคลต้นแบบปลูกจิตสำนึกคัดแยกขยะ-สร้างสิ่งประดิษฐ์เพิ่มมูลค่า
—
เมื่อเวลา 10.30 น. วันที่ 4 ก.พ. ที่ศูนย์นิทรรศการ และการป...