เดินหน้าจัดตั้ง มหาวิทยาลัย “ซีเอ็มเคแอล” รับโรดแมปชาติ รองรับโครงการ EEC ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง

          &#ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ8สถาบันการศึกษา; มหาวิทยาลัย "ซีเอ็มเคแอล" เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.เอก – ป.โท รุ่นแรก นำร่อง CMKL University สาขา ที่ไทยยังขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ "วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์" –"วิศวกรรมซอฟต์แวร์" ยกศักยภาพแข่งขันทัดเทียมประเทศโลกที่ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

          มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL University) เผย 4 นโยบายสู่การเป็นสถาบันการศึกษาตอบโจทย์การพัฒนาประเทศตามโรดแมปของรัฐบาล ดังนี้ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยทางนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ CMKL University. มุ่งสู่การเป็นสถาบันหลักด้านวิชาการของประเทศและนานาชาติ สถาบันการศึกษา. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อยุทธศาสตร์ชาติ และ 4. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบ Problem-Based, Case – Based และ Search-Based นำร่องเปิดสอนปีการศึกษา CMKL University56ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใน CMKL University สาขาวิชาที่ประเทศไทยยังขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ "สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์" ระดับปริญญาเอกและปริญญาโท และ "สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์" ระดับปริญญาโท ผู้สนใจสามารถคลิกเข้าไปดูรายละเอียดและสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.cmkl.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – สิ้นเดือน ธ.ค. CMKL University56มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล
          นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยว่า การจัดตั้ง "มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล" (CMKL University) โดยความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยไทยโดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน สถาบันการศึกษาชั้นนำด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีจากสหรัฐอเมริกา ถือเป็นต้นแบบการจัดการศึกษาเพื่อถ่ายทอดวิทยาการและองค์ความรู้ ภายใต้การส่งเสริมการจัดการศึกษาโดยสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศ เพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งจำเป็นต้องเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวิทยาการที่มีคุณภาพและทันสมัย เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้รับมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ซึ่งมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง อย่างไรก็ตาม การเปิดให้สถาบันการศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศ เข้ามาเปิดดำเนินการในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคอาเซียน ตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ CMKL University9/CMKL University56มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล หรือ ม.44 นั้น จะก่อให้เกิดผลดีในแง่การแข่งขันและพัฒนาหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อให้ทัดเทียมกับสถาบันจากต่างประเทศ
          ด้าน ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า ความคืบหน้าล่าสุดได้มีการลงนามข้อตกลงทางวิชาการ ณ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอลนั้น จะอยู่ภายใต้นโยบาย 4 ด้าน เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาประเทศตามโรดแมปของรัฐบาล ดังนี้ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยทางนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ โดยให้ความสำคัญกับการวิจัยซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนา พร้อมสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมหาวิทยาลัยมีคณาจารย์และบุคลากรที่มีผลงานวิจัยระดับคุณภาพ ได้รับการยอมรับและยกย่องในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี CMKL University. มุ่งสู่การเป็นสถาบันหลักด้านวิชาการของประเทศและนานาชาติ หนึ่งในภารกิจสำคัญอีกประการหนึ่งของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล คือการเป็นศูนย์รวมองค์ความรู้การพัฒนาประเทศในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและภาคเอกชนชั้นนำจากนานาชาติ นำมาสรุปและรวบรวมเป็นองค์ความรู้ที่สมบูรณ์แบบที่สุด สถาบันการศึกษา. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อยุทธศาสตร์ชาติ การจัดตั้งมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอลเกิดขึ้นจากเป้าประสงค์ในการรองรับยุทธศาสตร์ชาติ จึงมีวางหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ภายใต้การถ่ายทอดองค์ความรู้จากสถาบันการศึกษาที่มีศักยภาพสูงในต่างประเทศ และการฝึกในการเรียนการสอนทุกหลักสูตร และ 4. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบ Problem-Based, Case – Based และ Search-Based เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนจากประเด็นปัญหาจริงด้วยตนเอง สามารถลงมือทำโครงการวิจัยและพัฒนาที่ได้รับโจทย์ภาครัฐและภาคเอกชนอย่างแท้จริง
          "เป้าหมายหลักของการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล คือต้องการให้นักศึกษาได้ทำงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตอบโจทย์ความต้องการของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อแก้ปัญหาของประเทศชาติได้อย่างตรงจุด ดังนั้น รูปแบบการเรียนการสอนนอกจากจะเน้นไปที่องค์ความรู้ทางวิชาการ โดยการส่งนักศึกษาไปเรียนกับคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญยังสหรัฐอเมริกาแล้ว ผู้เรียนจะต้องกลับมาฝึกปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการภาคเอกชน ที่ลงนามเป็นเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ซึ่งขณะนี้มีภาคเอกชนยักษ์ใหญ่ร่วมลงนามแล้วหลายกลุ่มธุรกิจ เท่ากับว่าระหว่างการเรียนทั้งในระดับปริญญาเอกและปริญญาโท นักศึกษาจะได้ศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญในการพลิกโฉมการศึกษาไทย เพราะที่ผ่านมาองค์ความรู้จากงานวิจัยต่างๆ ในประเทศ ส่วนใหญ่มักไม่ถูกนำมาพัฒนาต่อยอดใช้งาน ทำให้สูญเสียโอกาสในการยกระดับองค์ความรู้ และศักยภาพของประเทศในการแข่งขันกับนานาชาติ" ศ.ดร.สุชัชวีร์ กล่าว
          ขณะที่ ผศ.ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล กล่าวเสริมว่า ในปีการศึกษาแรกของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล จะนำร่องเปิดสอน CMKL University สาขาวิชา คือ "สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์" ในระดับปริญญาเอกและปริญญาโท และ "สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์" ในระดับปริญญาโท โดยมีหลักสูตรครอบคลุมด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ อาทิ ด้านระบบสารสนเทศและการให้บริการ ด้านดาต้าและการป้องกันภัยไซเบอร์ ด้านหุ่นยนต์สมองกลและการควบคุมจักรกลอัตโนมัติ ด้านปัญญาประดิษฐ์(AI) และด้านโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เป็นต้น โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการและมาตรฐานเดียวกับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อจบการศึกษาจึงได้ปริญญาบัตรเหมือนกับเรียนที่มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอนทุกประการ โดยมีรูปแบบการเรียนการสอน ดังนี้
          &#ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ8สถาบันการศึกษา; ระดับปริญญาเอก ระยะเวลาเรียน 5 ปี โดยเรียนในไทย CMKL University ปี และที่สหรัฐอเมริกา สถาบันการศึกษา ปี มุ่งเน้นคุณภาพของนักศึกษาและอาจารย์ให้เทียบเท่าระดับสากล ซึ่งการใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการเรียนการสอนที่สหรัฐอเมริกา เพื่อดึงดูดนักศึกษาและนักวิจัยที่มีความสามารถจากในประเทศและภูมิภาคอาเซียน เข้ามาช่วยกันสร้างสรรค์งานวิจัยที่สอดคล้องกับปัญหาและสภาพแวดล้อมของไทย รวมทั้งริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลภายใน 5-ขับเคลื่อนเศรษฐกิจมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล ปี ทำให้ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีของตนเอง และก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้นำของภูมิภาค
          &#ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ8สถาบันการศึกษา; ระดับปริญญาโท ระยะเวลาเรียน CMKL University ปี โดยเรียนในไทย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ปี และที่สหรัฐอเมริกา ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ปี เพื่อพัฒนาบุคลากรภาครัฐและเอกชนให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสร้างนวัตกรรมออกสู่ตลาดโลกภายในระยะเวลา CMKL University-สถาบันการศึกษา ปี

          โดยขณะนี้มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอลได้เปิดให้ผู้สนใจสมัครเข้ารับคัดเลือก เพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกและปริญญาโทแล้ว สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย www.cmkl.ac.th จากนั้นจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วน และสมัครได้ตามช่องทางที่ระบุ ตั้งแต่วันนี้ – สิ้นเดือน ธ.ค. CMKL University56มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล ส่วนการเปิดสอนอย่างเป็นทางการจะเริ่มในเดือน ส.ค. ปี CMKL University56ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เป็นต้นไป
          นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ส่วนสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) หมายเลขโทรศัพท์ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอลCMKL University-สถาบันการศึกษาCMKL University9-8ขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจ หรือคลิกเข้าไปที่ www.kmitl.ac.th หรือ www.cmkl.ac.th
เดินหน้าจัดตั้ง มหาวิทยาลัย “ซีเอ็มเคแอล” รับโรดแมปชาติ รองรับโครงการ EEC ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง
 
เดินหน้าจัดตั้ง มหาวิทยาลัย “ซีเอ็มเคแอล” รับโรดแมปชาติ รองรับโครงการ EEC ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง
เดินหน้าจัดตั้ง มหาวิทยาลัย “ซีเอ็มเคแอล” รับโรดแมปชาติ รองรับโครงการ EEC ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง
เดินหน้าจัดตั้ง มหาวิทยาลัย “ซีเอ็มเคแอล” รับโรดแมปชาติ รองรับโครงการ EEC ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศด้วยอุตสาหกรรมขั้นสูง

ข่าวมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล+ขับเคลื่อนเศรษฐกิจวันนี้

PathSense นวัตกรรม AI เพื่อผู้พิการทางสายตาจากนักศึกษา CMKL คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขัน AIS Jump Hackathon 2025

ทีมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จากหลักสูตร วศ.บ. วิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และคอมพิวเตอร์ (Artificial Intelligence & Computer Engineering AiCE) มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL University) พัฒนา PathSense อุปกรณ์นำทงานอัจฉริยะสำหรับผู้พิการทางสายตาเพื่ออยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสายตาในการดำรงชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อผู้พิการทางสายตา สมาชิกของทีม PathSense ประกอบด้วย จิรา พิทักษ์วงศ์ สิริชาดา วัฒนาศิริธนวงษ์ ชวิน เหลืองธำรงเจริญ ณฐนน ปราโจโก และภคิน ธรรมศิริมงคล โดยโครงการนี้

สถาบันวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ (AI Engineeri... AI Engineering & Innovation Summit 2024 ขับเคลื่อนนวัตกรรม AI ของประเทศไทยสู่ระดับโลก — สถาบันวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ (AI Engineering Institute; AIEI) ร...

LTS โชว์ความสำเร็จกลุ่มธุรกิจ IT Solution... LTS โชว์ความสำเร็จกลุ่มธุรกิจ IT Solutions — LTS โชว์ความสำเร็จกลุ่มธุรกิจ IT Solutions หนุนสร้าง New S-Curve ประกาศได้งานบริการนวัตกรรมเทคโนโลยี AI ...

มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล ได้จัดงาน CMKL Din... มหาวิทยาลัย CMKL จัดดินเนอร์ซิมป์โพเซียม ถกแนวทางแก้วิกฤตโลกด้วย AI — มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล ได้จัดงาน CMKL Dinner Symposium ณ โรงแรมมิลเลนเนียมฮิลตัน ภาย...

เมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน 2565 ที่ผ่าน... เปิดแล้ววันนี้! "AI SANDBOX" หลักสูตร AI ร่วมหลักสูตรแรกของไทย กับความร่วมมือของ 6 สถาบันชั้นนำ — เมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา ศาสตราจารย์พ...

ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงการอุ... มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล นำทีม 5 มหาวิทยาลัยชั้นนำ ลงนามความร่วมมือจัดตั้งสถาบันปัญญาประดิษฐ์ — ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์...