ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในความทรงจำ : เส้นใยแห่งสายน้ำ เส้นใยผักตบชวา สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น

          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาคร ชลสาคร อาจารย์ประจำในสาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณะผู้วิจัยขอสืบสานความทรงจำในหลวงรัชกาลที่9 จากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในเรื่องของเกษตรพอเพียงในประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงของระบบเกษตรกรรมตามยุคสมัย การเปลี่ยนผ่าน ของระบบเกษตรกรรม ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอาจแบ่งได้เป็น 3 ยุค คือ ยุคระบบเกษตรกรรมแบบยังชีพ (Subsistence Agriculture) ยุคระบบ เกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ (Commercial Agriculture) ยุคระบบเกษตรกรรมเชิงทวิลักษณ์ (Dualistic Agriculture) ซึ่งหมายถึงระบบเกษตรกรรมที่มีทั้งการเกษตรเชิงแข่งขันและการเกษตรแบบยั่งยืน ผักตบชวา ถือเป็นพืชที่สร้างปัญหาทางน้ำให้แก่เกษตรกรรมมาเป็นระยะเวลานาน ปัญหาที่เกิดจากผักตบชวา ผักตบชวา ก่อให้เกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ เช่น การชลประทาน การคมนาคมทางน้ำ เพื่อเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาวัชพืชในแหล่งน้ำ จึงได้ทำการวิจัยและพัฒนาผักตบชวาสู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น
          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร เปิดเผยว่า นำต้นผักตบชวามาพัฒนาเป็นเส้นใย เส้นด้าย และผืนผ้า ภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าผักตบชวาสู่อุตสาหกรรมแฟชั่น ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 256มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนางานวิจัยครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากคุณวิลาสินี ชูรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามรุ่งเรือง จำกัด ที่มีโอกาสได้เข้าร่วมโครงการ Modern Thai Silk กับทางสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ และมีการให้คำปรึกษาเรื่องเส้นใยธรรมชาติ ซึ่งสนใจผักตบชวาเป็นพิเศษ และเคยติดตามผลงานการวิจัย งานวิจัยการพัฒนาเส้นใยจากผักตบชวาสู่ผลิตภัณฑ์สิ่งทอสร้างสรรค์ (The Development of Water Hyacinth fiber to Creative Textile Products) ที่ได้รับงบประมาณอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประจำปี 2558 ซึ่ง "ตอนนั้นพัฒนาออกมาเป็นผ้าผืนแต่ยังติดปัญหาเรื่องต้นทุนสูงมาก เฉลี่ยผ้าหนึ่งหลาราคาเกือบหนึ่งพันบาท ซึ่งเป็นราคาที่ลูกค้ายังไม่ยอมรับจึงหยุดไป เพิ่งมาเริ่มใหม่อีกครั้งปีที่แล้ว เนื่องจากต้องการให้บริษัทมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมนอกเหนือจากการผลิตชุดเด็กและสตรี และต้องการช่วยลดมลภาวะสิ่งแวดล้อม ในปีนี้จึงได้โดยร่วมมือกันเพื่อปรับปรุงพัฒนาผักตบชวาออกมาเป็นเส้นด้าย ผ้าผืน เสื้อผ้าสตรีที่มีรูปแบบเรียบง่าย ผสมผสานความทันสมัย ด้วยสมบัติของผักตบชวาทำให้สวมใส่สบายระบายอากาศได้ดี นั่นคือ "เส้นใยแห่งสายน้ำ"
          โดยนำผลิตภัณฑ์ "เส้นใยแห่งสายน้ำ" มาเปิดตัวในงาน STYLE 2มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีพระบาทสมเด็จพระปรมินท7 เพื่อทดลองตลาด ซึ่งได้รับผลตอบรับที่ดี มีลูกค้าต่างชาติให้ความสนใจ โดยทางบริษัทต่อยอดผักตบชวาสู่ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าสตรี ในเชิงพาณิชย์อีกต่อไป ผู้สนใจผลิตภัณฑ์เส้นใยแห่งสายน้ำ สอบถามรานละเอียดได้ที่ ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี86-6พระบาทสมเด็จพระปรมินท84639
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในความทรงจำ : เส้นใยแห่งสายน้ำ เส้นใยผักตบชวา สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น
 
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในความทรงจำ : เส้นใยแห่งสายน้ำ เส้นใยผักตบชวา สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในความทรงจำ : เส้นใยแห่งสายน้ำ เส้นใยผักตบชวา สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในความทรงจำ : เส้นใยแห่งสายน้ำ เส้นใยผักตบชวา สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น

ข่าวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี+มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวันนี้

มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ "คลีนบิวตี้" นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ

จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา "Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel" ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน สร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดตัวนวัตกรรมเครื่องสำอางใหม่ล่าสุด A-SHINE Clean Beauty: The Anti-Aging Avocado Secret Collection ผลงานของอาจารย์นักวิจัยคณะการ

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรี เผยความพร้อมก้าวไปเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ยืนยันไม่ขึ้นค่าเทอมนักศึกษา — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโ...

รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลั... คณะศิลปศาสตร์ มทร.กรุงเทพ สุดยอดคว้าถ้วยรางวัลพระราชทาน กรมสมเด็จพระเทพฯ 2 ปีซ้อน — รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.)กรุงเท...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรีไม่ห่วงเด็กเข้าใหม่ลดลง — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดเผยว่า ...

สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIAT), หน่วย... 'Super AI Engineer Season 5' รวมพลังรัฐ-เอกชน-ประชาสังคม ปั้นบุคลากร AI เสริมขีดความสามารถแข่งขันไทย — สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIAT), หน่วยบริหารและจ...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรีประชุมวิชาการพัฒนาบุคลากร — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นประธานการประช...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรี เดินเกมส์รุกเปิดสาขาวิชาใหม่ — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดเผยว่า ...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... เปิดประตูราชมงคลธัญบุรี — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรม "...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรี พร้อมขับเคลื่อนนวัตกรรม งานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุร...