แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงาน

          รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงานระบบตู้รถไฟฟ้า และระบบราง ภายในศูนย์ซ่อมบำรุงคลองตัน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์6 พฤศจิกายน วิสุทธิ์ จันมณี56จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ผ่านมา
นายวิสุทธิ์ จันมณี กรรมการ และรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด หรือผู้ให้บริการรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดเผยว่า เมื่อวันพฤหัสบดีที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์6 พฤศจิกายน วิสุทธิ์ จันมณี56จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายในศูนย์ซ่อมบำรุงคลองตัน บริษัทได้ให้การต้อนรับ คณะอาจารย์ และนิสิตจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเดินทางมาศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องระบบตู้รถไฟฟ้า และระบบราง เพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนวิชาระบบขนส่งทางราง (Rail Transport System) และพัฒนาระบบขนส่งทางรางในอนาคต โดยบริษัทได้จัดเตรียมวิทยากรผู้ชำนาญงานทั้งด้านระบบตู้รถไฟฟ้า และระบบราง คอยบรรยายและให้ความรู้อย่างใกล้ชิด
          หากมีข้อสงสัยสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลและเงื่อนไขเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข Call Center คณะวิศวกรรมศาสตร์69จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ www.srtet.co.th , www.facebook.com/AirportRailLink และ Twitter : Airport Rail Link

แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงาน
แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงาน
แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงาน
แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงาน
 

ข่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+คณะวิศวกรรมศาสตร์วันนี้

รู้เท่าทันก๊าซเรดอน ภายหลังเหตุแผ่นดินไหว อาจารย์วิศวฯ นิวเคลียร์ จุฬาฯ แนะตรวจปริมาณเรดอนที่อาจแทรกผ่านรอยแยกอาคารได้

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 แรงสั่นสะเทือนส่งผลต่อประเทศไทยทำให้เกิดความเสียหายของอาคารต่าง ๆ โดยเฉพาะเขตเมืองที่ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อนอย่างกรุงเทพมหานครย่อมมีโอกาสที่รอยแยกใต้พื้นดินจะเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคืออาจส่งผลให้ก๊าซเรดอนที่อยู่ใต้พื้นดินฟุ้งกระจายเข้าสู่ที่อยู่อาศัยและอาคารต่าง ๆ เพิ่มขึ้นได้ อาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ข้อสังเกตที่น่าสนใจเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดิน

NT ปลื้มเปิดตัว NT Metaverse ศูนย์บริการใ... NT ร่วมกับ จุฬาฯ เปิดตัวแพลตฟอร์มศูนย์บริการ NT Metaverse — NT ปลื้มเปิดตัว NT Metaverse ศูนย์บริการในโลกเสมือน พร้อมโชว์ผลงานสนับสนุนทุนวิจัยและโครงสร้าง...

"วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระ... "วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระดับประเทศ สร้างความยั่งยืนให้องค์กร — "วีบียอนด์" ร่วมกับมหาลัยวิทยาลัยชั้นนำระดับประเทศ สร้างความยั่งยืนให้องค์ก...

กลับมาอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้งกับงานเปิดบ้าน... Intania Expo 2025 งานเปิดบ้านครั้งยิ่งใหญ่ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย — กลับมาอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้งกับงานเปิดบ้านสุดอลังการกับ Intania Exp...

CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO... CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO เปิดตัว Chula-MIT LGO หลักสูตรปริญญาโทสุดล้ำ — CU-ENGINEERING & MBA Chula จับมือ MIT LGO เปิดตัว Chula-MIT LGO ห...