“บรรจง สมบัติ” ครูผู้สร้างโอกาสทางการศึกษาด้วย “กีฬาวอลเลย์บอล” ถ้ามุ่งมั่นตั้งใจ “โลกนี้ไม่มีใครปึก” สู้จากคำว่าแพ้ ปั้นนักกีฬาทีมชาติ 13 คน

          "มีคนบอกว่าเล่นกีฬาแล้วมันเสียการเรียน ทำไมเราจะเอาชนะคำพูดคนไม่ได้ เล่นกีฬาแล้วไม่เสียการเรียนไม่ได้เหรอ เด็กๆ ทุกคนหลังเลิกซ้อมต้องลงมาอ่านหนังสือ เพราะว่าเราต้องเอาชนะคำพูดให้ได้"
          เป็นคำพูดที่แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะพิสูจน์ให้เห็นว่า "กีฬา" กับ "การเรียน" ไปด้วยกันได้ของ "นายบรรจง สมบัติ" จาก โรงเรียนหนองเรือวิทยา อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ผู้ที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ได้รับรางวัล "ครูยิ่งคุณ" ประจำปี มูลนิธิรางวัลสมเด็จ56รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี จาก มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ที่ใช้กีฬา "วอลเลย์บอล" เป็นเครื่องมือผลักดันลูกศิษย์ของตนเองให้ได้รับโอกาสทั้งด้านการศึกษาและด้านอาชีพ ที่ได้สร้าง นักกีฬาวอลเลย์บอลทีมชาติมาแล้วถึง โรงเรียนหนองเรือวิทยาจังหวัดขอนแก่น คน และนักกีฬาเยาวชน-ยุวชนทีมชาติอีก จังหวัดขอนแก่นรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี คน และที่สำคัญนักกีฬาทุกคนเรียนต่อชันมัธยมศึกษาตอนปลายในสาย "วิทย์-คณิต" ด้วยเกรดเฉลี่ยที่ไม่แพ้ใครๆ
          "กีฬาวอลเลย์บอลเป็นตัวลดภาระอีกแนวทางหนึ่งที่เป็นตัวเลือกของเยาวชนที่ใช้กีฬาวอลเลย์บอลเป็นบันไดก้าวสู่ความสำเร็จ ทั้งด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของครอบครัว นักกีฬาหลายคนพลิกชีวิตจากคนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาเนื่องจากฐานะของครอบครัว ก้าวไปสู่การเติมเต็มชีวิตจนสามารถเรียนจบปริญญาตรี มีงานการที่ดีและมั่นคง" ครูบรรจงเล่าถึงโอกาสที่ได้รับจากการเล่นกีฬา
ย้อนกลับไปในปี พ.ศ.มูลนิธิรางวัลสมเด็จ5จังหวัดขอนแก่นรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี หลังรับราชการมาแล้ว 7 ปี เป็นครั้งแรกที่ "ครูบรรจง สมบัติ" จับพลัดจับผลูได้มาเป็นครูผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอลให้กับเด็กนักเรียนของโรงเรียนโนนสะอาดวิทยาคาร ด้วยเหตุผลง่ายๆว่า "ไม่มีใครสอน" แต่นั่นก็เป็นจุดเริ่มต้นของความสนใจในกีฬาชนิดนี้อย่างจริงจัง แม้ว่าผลลัพธ์ที่ได้จะมีแต่ความพ่ายแพ้ไม่เคยชนะทีมไหนเลยตลอดระยะเวลา จังหวัดขอนแก่น ปี
          "พอปี มูลนิธิรางวัลสมเด็จ5จังหวัดขอนแก่น4 ก็ถูกชักชวนให้ย้ายไปทำทีมวอลเลย์บอลให้กับโรงเรียนท่านางแนววิทยายน ตอนแรกก็ส่งเด็กลงแข่งไปทั่ว ผลก็ไม่แตกต่างจากโรงเรียนเก่า แพ้ไปทุกที่ แพ้แม้กระทั่งทีมของโรงเรียนเด็กประถม ทำทีมอยู่ประมาณ จังหวัดขอนแก่น ปี ก็เลยมีความคิดว่าจะต้องเอาเด็กมากินนอนโรงเรียนเหมือนทีมอื่นๆ เพื่อทำให้เขาได้เรื่องของความสามัคคี รู้ใจรักใคร่ผูกพัน เพราะวอลเลย์บอลมันเป็นทีมเวิร์ก ทุกคนต้องรู้ใจกัน" ครูบรรจงเล่าถึงจุดเริ่มต้นของการสร้างคนด้วย "ครอบครัววอลเลย์บอล" ในปัจจุบัน
          แม้เด็กๆ จะได้มากินนอนอยู่ด้วยกัน แต่คำว่า "ชนะ" ก็ยังอยู่ห่างไกล "ครูบรรจง" จึงเริ่มขวนขวายหาความรู้เพื่อนำกลับไปพัฒนาฝีมือลูกๆ ของตนเองด้วยการมุ่งหน้าเข้ากรุงเทพฯ ไปเดินดูตามโรงยิมและสนามกีฬาต่างๆ ที่ทีมเก่งๆ หลายทีมในขณะนั้นมักจะใช้เป็นสถานที่ฝึกซ้อม
          "ตอนนั้นปิดเทอมก็ไปดูทีมสวนกุหลาบนนท์ บดินทรเดชา สายน้ำผึ้งฯลฯ ทีมเก่งๆ ว่าเขาซ้อมกันยังไง วอร์มยังไง ยืดท่าบริหารร่างกายกันยังไง เพราะแต่ก่อนเราก็สอนไปตามที่ตัวเองคิด พอไปเห็น ก็ไปจดทุกอย่าง วาดภาพประกอบว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง วอร์มหน้าตาข่าย วอร์มนอกตาข่าย อยากรู้อะไรก็เดินเข้าไปแนะนำตัว ถามขอความรู้โค้ชของทีมดังๆ ทีมสวนกุหลาบนนท์ก็ใจดีชวนให้ไปนอนที่โรงเรียนเลย" ครูบรรจงเล่า
          เมื่อกลับมาก็นำความรู้ที่รับมาใช้ฝึกซ้อมกับเด็กๆ ในทีมของตนเอง เมื่อถึงเวลาปิดเทอมเมื่อไหร่ก็จะลงไปกรุงเทพฯ ดูการฝึกซ้อมของทีมต่างๆ จนกระทั่งไปเจอตลับเทปวีดีโอสอนวอลเลย์บอลของ "อาจารย์ชาญฤทธิ์ วงษ์ประเสริฐ" นั่นเหมือนกับว่าทีมวอลเลย์บอลบ้านนอกได้เจอลายแทงขุมทรัพย์ชิ้นสำคัญ
          "ตอนนั้นซื้อมาเลย การสอน การเล่น การบล็อก อะไรๆ แล้วก็ซื้อพวกวิดีโอทีมต่างๆ ครับ ซื้อกลับมา นั่งดูกับเด็ก เรียนรู้ไปด้วยกัน บอกเด็กๆ ว่า เรียนรู้ไปด้วยกันนะลูก ดูด้วยกัน พวกเราเขาเล่นยังไง เขาเล่นยังไง ดูกันเป็นสิบๆ เที่ยว ดูจนจำได้ทั้งหมด ตอนนั้นปี มูลนิธิรางวัลสมเด็จ5จังหวัดขอนแก่น8 ก็พาเด็กๆ ไปแข่งที่นครราชสีมาในรุ่นอายุไม่เกิน โรงเรียนหนองเรือวิทยา6 ปี แม้ว่าจะตกรอบแรก แต่ก็ไปได้เซ็ตจากทีมที่ได้แชมป์ในปีนั้น คือชนะเขามาได้โรงเรียนหนองเรือวิทยา เช็ต อีกเซ็ตนำเขาไปถึง โรงเรียนหนองเรือวิทยารางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ต่อ มูลนิธิรางวัลสมเด็จ เด็กเล่นดี เสิร์ฟ สู้แหลก ตอนนั้นมีนักข่าวสยามกีฬามาเห็นเข้าก็เลยมาสัมภาษณ์ เพราะเราเป็นโรงเรียนโนเนมแต่มาแข่งสูสีกับทีมระดับแชมป์" ครูบรรจงเล่าถึงจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ
          พาดหัวข่าวของสยามกีฬาในอีกไม่กี่วันถัดมา "สาวน้อยขอนแก่นได้ดีเพราะวีดีโอ" ได้สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน สร้างขวัญกำลังใจให้กับลูกศิษย์และตัวของ "ครูบรรจง" เป็นอย่างมาก จนเกิดความมุมานะทุ่มเทฝึกซ้อมกันอย่างเต็มที่ จนในปี มูลนิธิรางวัลสมเด็จ5จังหวัดขอนแก่น9 ทีมโนเนมจากท่านางแนว ก็สร้างชื่อเสียงไปทั่วทั้งขอนแก่นจากการเป็นทีมน้องใหม่ที่มีผลงานโดดเด่น จนก้าวเข้ามาคว้าตำแหน่งรองแชมป์วอลเลย์บอลในระดับจังหวัด
          หลังจากนั้น "ครูบรรจง" ก็ถูกทาบทามให้ย้ายไปเป็น "โค้ช" ให้กับทีมของโรงเรียนต่างๆ ทั้งในจังหวัดของแก่น ไกลสุดถึงในกรุงเทพฯ แต่ก็ตัดสินใจที่จะไม่ย้ายไปไหน เพราะคิดถึงเด็กๆ ที่ยากจนและด้อยโอกาสในพื้นที่จนกระทั่งได้รับโอกาสสำคัญให้ย้ายมาทำทีมแข่งที่โรงเรียนหนองเรือวิทยาในปี มูลนิธิรางวัลสมเด็จ54รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี
          "ตอนนั้นก็พาเด็กๆ ในทีมทั้ง 4จังหวัดขอนแก่น คนย้ายมาเรียนต่อที่นี่ทั้งหมด แม้ว่าโรงเรียนหนองเรือนี้จะมีชื่อเสียงในด้านวิชาการแต่ก็อยากจะพิสูจน์ให้คนอื่นๆ เห็นว่าเล่นกีฬาก็เรียนดีได้ ดังนั้นทุกวันหลังฝึกซ้อมเสร็จทุกคนจะต้องลงมาจากห้องพักมาอ่านหนังสือ แล้วผมก็มีความเชื่อว่าในโลกนี้ไม่มีใครปึก พูดง่ายๆ ไม่มีใครโง่ถ้าคุณอ่านหนังสือ ส่วนใหญ่ที่เรียนไม่เก่งเป็นเพราะไม่อ่านหนังสือ บางทีก็ชวนครูรุ่นใหม่ๆ ที่มาช่วยสอนช่วยติว หรือถ้าครูขอติวเนี่ยผมจะให้ทันที ไม่มีซ้อมก่อน เพราะการเด็กที่เขามาเล่นกีฬาให้เรา เราต้องมีอะไรตอบแทนเขา สิ่งเดียวที่เราจะตอบแทนได้ก็คือวิชาการและโอกาสให้เขาได้เรียน" ครูบรรจงกล่าว
          หลังจากย้ายมาสร้างทีมที่โรงเรียนหนองเรือฯ ประกอบกับได้รับโอกาสไปอบรมโค้ชระดับนานาชาติ ลูกๆ ของ "ครูบรรจง" ก็เริ่มพัฒนาฝีไม้ลายมือ และเริ่มสร้างผลงานในระดับจังหวัด ระดับภาค และในระดับประเทศ จนเป็นทีมวอลเลย์บอลระดับโรงเรียนมัธยมทีมีชื่อเสียงในลำดับต้นๆ ของภาคอีสาน ก็มีคนมาทาบทามเสนอโอกาสที่ดีกว่าในการย้ายไปทำทีมในโรงเรียนชั้นนำระดับประเทศ
          "ตอนนั้นก็บอกทุกคนไปว่าขอให้มีโค้ชบ้านนอกสักคน ถ้าอย่างนั้นเด็กบ้านนอกพวกนี้ก็ไม่ได้เจอผม ถ้าทุกคนกรูกันไปเมืองใหญ่หมด แล้วครูโรงเรียนประถมบ้านนอกเล็กๆ ที่เค้าสร้างเด็กขึ้นมาแล้วจะให้เขาส่งเด็กไปที่ไหน ถ้าเราไม่อยู่ตรงนี้เด็กๆ ในจังหวัดใกล้เคียงหรืออำเภอใกล้เคียงเขาก็ไม่ได้มีโอกาสเจอกับเรา ฉะนั้นขอเป็นครูบ้านนอกอยู่ตรงนี้ดีกว่า" ครูบรรจงเล่าถึงโอกาสที่เข้ามากับการตัดสินใจเป็นโค้ชบ้านนอก
          จากการกินนอนในโรงเรียนฝึกเพื่อฝึกซ้อม ก็ต่อยอดไปสู่การเป็น "ครอบครัววอลเลย์บอล" เพื่อปูทางสร้างอนาคตให้กับนักกีฬาทุกคน โดยมีกฎระเบียบที่เข้มงวด ห้ามมีโทรศัพท์ ไม่เล่นไลน์หรือเฟชบุ๊ก เพื่อไม่ให้เสียเวลาไปกับสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ และแย่งสมาธิไปจากการเรียนและการฝึกซ้อม อาหารทุกอย่างทุกมื้อเด็กๆ ต้องช่วยกันทำกินเอง ต้องดูแลช่วยเหลือตัวเองทุกเรื่อง น้องเรียนไม่เก่งพี่ต้องพาน้องอ่านหนังสือฯลฯ ทั้งนี้เพื่อปลูกฝังสร้างคุณลักษณะนิสัยที่ดีควบคู่ไปกับการมีทักษะชีวิตในเรื่องต่างๆ
          วันนี้อดีตลูกศิษย์หลายคนของ "ครูบรรจง" เป็นนักกีฬาทีมชาติไทยที่มีชื่อเสียง และเป็นแรงบันดาลใจให้กับรุ่นน้องอีกกว่า โรงเรียนหนองเรือวิทยารางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี คนในปัจจุบันได้ก้าวเดินตาม ทั้ง "ทัดดาว นึกแจ้ง" หรือ "ฐาปไพพรรณ ไชยศรี" แต่สิ่งที่ถูกพร่ำสอนและตอกย้ำเสมอๆ ในครอบครัวแห่งนี้คือทุกคนจะต้องมีเป้าหมายที่ไกลกว่านั้นอย่าง น.ส.เบญจมาศ เกตุสุวรรณ์ หรือ "ยุ้ย" นักเรียนชั้น ม.6 นักกีฬาที่เรียนในสายวิทย์-คณิตเกรดเฉลี่ย จังหวัดขอนแก่น.จังหวัดขอนแก่น7 ที่ถูกทามทามให้ไปศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดัง เล่าให้ฟังว่าครูเหมือนพ่อคนที่สองโดยจะสอนในทุกๆ เรื่องทั้งการฝึกซ้อมและการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะเรื่องของการเรียนที่คุณครูจะบอกเสมอๆ ว่าเราต้องทำหน้าที่ตรงนี้คือกีฬาและการเรียนของเราให้ดีที่สุด
          "เพราะเป้าหมายของเราไม่ได้มีแค่การเป็นนักกีฬาทีมชาติ มันเป็นแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น มีเป้าหมายที่ใหญ่กว่านั้นคือการประสบความสำเร็จในชีวิต บอกเขาตลอดเวลาว่าวอลเลย์บอลไม่ได้อยู่กับเราตลอดชีวิต สักวันหนึ่งวอลเลย์บอลก็ไม่ใช่ เราต้องทำอย่างอื่นเพื่อให้ชีวิตเราอยู่ได้ ต้องอยู่ในสังคมได้ ดังนั้นถ้าจะอยู่ในสังคมได้ดี คุณต้องมีการทำงานที่มั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี วอลเลย์บอลมันเป็นแค่จุดหนึ่งเท่านั้นเอง ที่จะผลักดันให้เรามีอนาคตที่ดี" ครูบรรจงบอกถึงเป้าหมายที่สำคัญกว่าการเป็นนักกีฬาทีมชาติ คือการการตั้งใจเรียนให้สูงที่สุดเพื่อที่จะได้มีอาชีพและการงานที่มั่นคงในอนาคต โดยมีรุ่นพี่หลายๆ คนเป็นตัวอย่างความสำเร็จ
          "อีก จังหวัดขอนแก่น ปีก่อนเกษียณ ผมมีความฝันอยากจะทำอคาเดมี่สำหรับกีฬาวอลเลย์บอลขึ้นมา เพื่อที่จะได้สร้างทั้งนักกีฬาและสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับเด็กๆ ไปพร้อมกัน เหมือนกับเป็นสโมสรวอลเลย์บอลแห่งหนึ่งที่ไม่ได้มุ่งผลเรื่องของการแพ้ชนะ แต่มุ่งผลถึงการสร้างคน เพื่อให้กีฬาวอลเลย์บอลสร้างโอกาสทางการศึกษา สร้างแรงจูงใจในการทำให้เด็กพัฒนาตัวเองทั้งเรื่องกีฬา การเรียน และการศึกษาต่อ เพื่อไปสู่เป้าหมายชีวิตที่ดียิ่งกว่าการเป็นนักกีฬาทีมชาติ" ครูบรรจงเล่าถึงเป้าหมายของการทำงานนับจากนี้
          สำหรับ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี นับเป็นรางวัลระดับนานาชาติเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระปรีชาด้านการศึกษา โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตตั้งนาม "รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี" เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติครูผู้สร้างความเปลี่ยนแปลงในชีวิตลูกศิษย์ สร้างคุณประโยชน์ต่อการศึกษาในประเทศต่างๆ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และติมอร์ เลสเต รวม โรงเรียนหนองเรือวิทยาโรงเรียนหนองเรือวิทยา ประเทศ ประเทศละ โรงเรียนหนองเรือวิทยา รางวัล ที่ขับเคลื่อนและดำเนินงานโดย มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี,สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน โดยจัดให้มีการมอบรางวัลในทุก มูลนิธิรางวัลสมเด็จ ปี ซึ่งในปีนี้นับเป็นครั้งที่ มูลนิธิรางวัลสมเด็จ โดยจะพระราชทานรางวัลในวันที่ โรงเรียนหนองเรือวิทยาโรงเรียนหนองเรือวิทยา ตุลาคม มูลนิธิรางวัลสมเด็จ56รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี.

“บรรจง สมบัติ” ครูผู้สร้างโอกาสทางการศึกษาด้วย “กีฬาวอลเลย์บอล” ถ้ามุ่งมั่นตั้งใจ “โลกนี้ไม่มีใครปึก” สู้จากคำว่าแพ้ ปั้นนักกีฬาทีมชาติ 13 คน

ข่าวรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี+โรงเรียนหนองเรือวิทยาวันนี้

“บรรจง สมบัติ” ครูผู้สร้างโอกาสทางการศึกษาด้วย “กีฬาวอลเลย์บอล” ถ้ามุ่งมั่นตั้งใจ “โลกนี้ไม่มีใครปึก” สู้จากคำว่าแพ้ ปั้นนักกีฬาทีมชาติ 13 คน

"มีคนบอกว่าเล่นกีฬาแล้วมันเสียการเรียน ทำไมเราจะเอาชนะคำพูดคนไม่ได้ เล่นกีฬาแล้วไม่เสียการเรียนไม่ได้เหรอ เด็กๆ ทุกคนหลังเลิกซ้อมต้องลงมาอ่านหนังสือ เพราะว่าเราต้องเอาชนะคำพูดให้ได้" เป็นคำพูดที่แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะพิสูจน์ให้เห็นว่า "กีฬา" กับ "การเรียน" ไปด้วยกันได้ของ "นายบรรจง สมบัติ" จาก โรงเรียนหนองเรือวิทยา อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ผู้ที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ได้รับรางวัล "ครูยิ่งคุณ" ประจำปี 2560 จาก มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ที่ใช้กีฬา "วอลเลย์บอล" เป็น

"ครูขวัญศิษย์" นายพิศณุ ศรีพล

ขอแสดงความยินดีกับนายพิศณุ ศรีพล คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย) คณะกรรมการบริหารสภาผู้ปกครองและครูแห่งประเทศไทย ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ในโอกาสได้รับรางวัล "ครูขวัญศิษย์...