SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things

          การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ16 : The Power of Collaboration เป็นการจัดงาน SIPA Technology Meetup ครั้งที่ 8 ของปีนี้ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2559 ที่ G Floor, Beat Hotel, W Districtภายใต้กิจกรรมการศึกษาและจัดสัมมนาเชิงวิชาการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานจำนวนมาก
          คุณปิยะฉัตร สำเร็จกาญจนกิจ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลและนวัตกรรม สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กล่าวเปิดงานสัมมนา SIPA Technology Meetup 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ16 ว่า งาน Tech MeetUp ในครั้งนี้เป็นกิจกรรมที่บรรยากาศมีความเป็นกันเอง วัตถุประสงค์การจัดงานทาง SIPA ต้องการให้มีการสร้างสังคมการเรียนรู้ ที่มีการแชร์ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็นร่วมกันของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ณ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามามากมาย และมีการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมาก อาจทำให้เราปรับตัวไม่ทัน จึงขอใช้เวทีนี้จัดกิจกรรรมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อไป หัวข้อสัมมนาในครั้งนี้ The Technology Enabled Internet of Things ด้วยความรู้และประสบการณ์ของวิทยากรจาก Espert Pte Ltd และ Maker Asia ก็จะมาเล่าถึงโอกาสของ IoT และความสามารถของเทคโนโลยีในปัจจุบัน เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สนใจ พร้อมถึงการนำเอาไปใช้สร้าง และพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากมีข้อสงสัยใดๆ และสามารถแชร์ประสบการณ์ร่วมกันได้ที่ http://forum.sipatechmeetup.com
          William Hooi , Co-founder/CEO Espert Pte Ltd., บรรยายในหัวข้อ MAKE-ing Opportunities for IoT ได้กล่าวว่า สำนักพิมพ์ O'Reilly เปิดตัวนิตยสาร MAKE ขึ้น โดยเป้าหมายในฐานะเป็นนิตยสารที่รวมการทำฮาร์ดแวร์ต่างๆ ขึ้น ในปี 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ5 กระแสคนอเมริกาเริ่มทำ DIY Technology และงานเมกเกอร์แฟร์ (Maker Faire) หรืองานแสดงผลงานของเหล่าเมกเกอร์ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ6 ซึ่งปัจจุบันกระจายไปจัดทั่วเมืองใหญ่ๆ ต่างๆ ของโลก งานเมกเกอร์แฟร์เป็นงานรวมตัวของเหล่านักประดิษฐ์ที่เอาผลงานสิ่งประดิษฐ์มาประชันกัน ทั้งในรูปแบบบริษัท สมัครเล่น DIY แม้กระทั่งเด็ก ๆ ก็มี แต่ละคนก็จะมีผลงานสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ มาแสดงให้ดู และในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ประธานาธิบดี บารัค โอบามา ถึงกับให้จัดงานเมกเกอร์แฟร์ในทำเนียบขาวเป็นครั้งแรก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของเมกเกอร์ที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตได้เป็นอย่างดี กระแสการเคลื่อนไหวของเมกเกอร์ (Making Movement) จาก Making Movement 1.สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ สู่ Making Movement 2.สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ถือว่าเป็นปรากฎการณ์ที่เปลี่ยนกรอบแนวความคิดหรือแนวทางการศึกษาว่า ทุกคนสามารถเป็นนักสร้าง/ประดิษฐ์ สิ่งต่าง ๆ ที่ตัวเองต้องการได้ ในปี 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ7 อุปกรณ์ที่สร้างออกมาจะมีรูปแบบอุปกรณ์ดิบ ๆ ปี 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ12 รูปแบบอุปกรณ์เรียบร้อยมากขึ้น และ DIY เป็นของเล่น ปัจจุบันการพัฒนา Hardware และ Software ได้รวมเป็นชิ้นเดียวกัน ซึ่ง IoT ในอนาคตสามารถใส่ Chip ลงไปในทุกอย่างที่ต้องการได้ Making Movement เป็นการต่อยอด DIY เพราะ Maker จะมีการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาต่อยอด ไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์/ดิจิตอล หรือการเกิดขึ้นของบอร์ดขนาดเล็กในรูปแบบใหม่ ๆ มีประสิทธิภาพ และราคาไม่แพง ทำให้รูปแบบของงาน DIY เปลี่ยนไป Maker สามารถมีไอเดียใหม่ ๆ ที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมและสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจได้ และยังช่วยให้ผู้ที่สนใจมีความรู้ความเข้าใจก้าวทันเทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตทำให้โลกแคบลง Maker มีโอกาสพบปะเจอกันเพื่อเรียนรู้ แลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ ระดมความคิด ลองผิดลองถูก ทำโครงการ/กิจกรรมร่วมกัน โดยเฉพาะการเรียนรู้ด้วยการลงมือทำ (Learning by doing) ทำให้งานต่าง ๆ ที่ Maker ทำขึ้น ต่างสร้างแรงบันดาลใจให้แก่กันและกัน และ William Hooi ยังกล่าวถึงคุณลักษณะ หรือการเริ่มต้นเป็น Maker ว่า Mindset to Learn and Do Anything การเริ่มต้นเป็น Maker ไม่ได้เริ่มจากคนเก่ง แต่เริ่มจากคนที่เรียนรู้และทำได้ด้วยตัวเอง, Use digital Technologies (ใช้เทคโนโลยีดิจิตอล), Learn with Others (เรียนรู้จากผู้อื่นและมีการแบ่งปันร่วมกัน), Dream big Dreams (เริ่มฝันและฝันให้ใหญ่ขึ้น), Create things of Value (บางครั้งอาจจะไม่เป็นProject หรือ Product แต่เป็นสิ่งที่มีคุณค่า), Connect globally (ปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเชื่อมกันทั่วโลก จึงทำให้มีคนที่จะช่วยซื้อ และแบ่งปันความฝันของเรา) และยังทิ้งท้ายประโยค "Every hero has his own armourer" ซึ่งมีความหมายโดยรวม ว่า Hero ทุกคนจะมีผู้ช่วยเป็นผู้สร้าง เฉกเช่น ประเทศเราจะเป็น Hero เหล่า Maker ทุกคนก็ต้องช่วยกันเป็นผู้สร้าง/พัฒนาให้ประเทศเราเปลี่ยนแปลง
          Panutat Tejasen, Founder, Maker Asia, Chiang Mai Maker Club บรรยายในหัวข้อ Create IoT Using ESP32 กล่าวว่า IoT เป็นการนำเอาคอมพิวเตอร์ไปฝังไว้ในสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในชีวิตประจำวัน เริ่มจากชิป ESP8266 วางตลาดปี 2สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ14 เป็นชิปเริ่มต้นของปรากฏการณ์ IoT เป็นสินค้าจากบริษัท Espressif ชิป ESP8266 ได้รับความนิยมมาก เหตุผลหนึ่งคือ ราคาถูก แต่ลึกไปกว่านั้นคือความสามารถและเทคโนโลยีของชิปเอง ขนาดของซิลิกอนของชิปเล็กกว่าคู่แข่งหลายเท่า ประสิทธิภาพสูง และใช้อุปกรณ์ภายนอกน้อยชิ้นมาก จึงเป็นที่นิยมของการนำไปใช้ทำ IoT Solution ขายไปได้หลายสิบล้านชิ้น บริษัท Espressif ประกาศชิปรุ่นใหม่ โดยชิปรุ่นใหม่ใช้ชื่อว่า ESP32 ชิปตัวนี้น่าสนใจเพราะมีคุณสมบัติ dual-core CPU : Xtensa LX6 (dual FPU) 24สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ MHz CPU clock, 512 KBytes internal SRAM, Wi-Fi (8สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ2.11b/g/n/e/i) HT4สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ unto 15สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ mbps, Bluetooth 4.2 BR/EDR and BLE (ultra-long range), Internal 8MHz or External 2-4สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติMHz oscillator, 2x64-bit timer and 1xWatchdog timer, RTC timer & watchdog, 12-bit ADC, 2 x 8-bit DAC, 1สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ touch sensors, 4 x SPI, 2 x I2S, 2 x I2C, 3 x UART, Ethernet, CAN 2.สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ, IR, PWM (motor and LED), HALL sensor, Analog preamp และ Cryptographic acceleration hardware : AES, SHA-2, RSA, ECC ซึ่งคุณสมบัติทั้งหมดเหล่านี้อยู่ในชิปตัวเดียวขนาด 6x6 มิลลิเมตร ถ้าเราต้องการจะใช้งานชิป ESP32 จะต้อง 1. สร้าง Printed Circuit Board (PCB) เอง 2. ใช้ Module 3. ไปซื้อบอร์ดพัฒนา ชิป ESP32 เป็น Package แบบ QFN (Quad Flat No-leads) ที่บัดกรีด้วยมือไม่ได้ จึงจำเป็นต้องใช้บอร์ด ซึ่งมี Module ออกมาจำหน่าย โดยต้องเอาชิปมาวางไว้บน Module จะเห็นว่าขาของชิปไม่พอกับ Module จำเป็นต้องใช้เทคนิคที่เรียกว่า Matrix คือสามารถเปลี่ยนหน้าที่ของขาหนึ่งไปเป็นอีกขาหนึ่งได้ จึงทำให้การออกแบบลายวงจรบนแผ่น PCB ง่ายขึ้น บริษัท GravitechThai ร่วมกับ บริษัท MakerAsia ได้ทำการออกแบบและผลิตบอร์ดที่มีชื่อเรียกว่า NANO32 ซึ่งเป็น Development Board ตัวบอร์ดมาพร้อมกับ FTDI เสียบสาย usb แล้วสามารถใช้งานได้เลย ซึ่งรองรับการใช้งานกับชิป ESP32 ด้านซอฟต์แวร์มี SDK ของ Espressif ที่ชื่อว่า ESP8266 SDK ซึ่งมี Mode ของการเขียนโปรแกรมอยู่ 4 Mode คือ AT Command, NonOS SDK, RTOS SDK, Arduino Core ส่วน SDK อื่นๆ มี NodeMCU, MicroPython, Sming, Espruino และ Basic บริษัท Espressif ได้ประกาศยกเลิก NonOS SDK และ RTOS SDK การเริ่มต้นใหม่กับ ESP-IDF เป็นเรื่องท้าทายมาก เพราะตอนนี้ ESP8266 และ Arduino Core แทบครองตลาด IoT แต่ถ้าพิจารณาให้ดี การเปลี่ยนเป็น ESP-IDF จะทำให้การสร้าง IoT Solution เปลี่ยนโฉมหน้าครั้งใหญ่ นั่นคือ Edge-computing จะทำได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น Smart Device จะฉลาดขึ้นมาก และน่าจะเป็น platform ที่ใหญ่มากในอนาคต และเข้าสู่ยุคใหม่ของการเขียนโปรแกรม เกิดความต้องการซอฟต์แวร์มหาศาล และการที่ development tools เริ่มต้นเปลี่ยนแปลงใหม่ แปลว่า developer ทั่วโลกเริ่มต้นพร้อมกันหมด
          สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ องค์การมหาชน (SIPA) โดยคุณสิระ นกยูงทอง นักเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กล่าวว่า ชิป ESP32 ได้รับความนิยมอย่างมากในวงการ Embedded System โดยสเปคคร่าวๆ ของ ESP32 รองรับการเชื่อมต่อแบบ Hybrid ทั้ง WiFi b/g/n และ Bluetooth LE มีพอร์ต IO, 1สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ touch sensors, Analog to Digital, SPI, PWM ฯลฯ มากขึ้น รองรับการสื่อสารผ่าน HTTPS โดยมี Hardware ในการเข้ารหัส การเริ่มต้นเป็น Maker ไม่ได้เริ่มจากคนเก่ง แต่เริ่มจากคนที่ชอบเรียนรู้ ช่างสงสัย ชอบทดลอง กล้าที่จะทำ กล้าที่จะรื้ออุปกรณ์ ทำได้ด้วยตัวเอง และมีความคิดสร้างสรรค์ สุดท้ายขอฝากเรื่องการตอบแบบสอบถาม ถ้าหากต้องการรู้ หรือเพิ่มเติมในเรื่องใดๆ ให้ตอบลงในข้อเสนอแนะเพื่อแจ้งให้ทาง SIPA ทราบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการจัดสัมมนาในครั้งต่อ ๆ ไป
          ท่านที่สนใจงาน SIPA Technology Meetup สามารถติดตามได้ที่ www.sipatechmeetup.com หรือ www.facebook.com/sipatechmeetup
SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things
 

SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things
SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things
SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things
 

ข่าวสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ+อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์วันนี้

DITP ร่วมกับภาครัฐและเอกชน จัดเจรจาการค้าธุรกิจดิจิทัลคอนเทนท์ ในงาน BIDC 2017

นางมาลี โชคล้ำเลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยถึงผลการจัดเจรจาการค้าธุรกิจดิจิทัลคอนเทนท์ ภายในงาน Bangkok International Digital Content Festival 2017 (BIDC 2017) ซึ่งจัดขึ้นภายใต้แนวคิด Digital Wonderland เมื่อวันที่ 20-21 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา ณ ห้องเวิลด์บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ โดยร่วมกับ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (เดิม) และ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ

· เปิดใจ 2 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ส... นักวิชาการ สจล. ชี้โอกาสเกม “E-Sports” ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีไทย ยุค 4.0 — · เปิดใจ 2 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล. จากอดีต "เด็กติดเกม" ก้าวสู...

การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 ... SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things — การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 : The Power of Collaboration เป็นการจัดงาน SIPA...

โลกดิจิตัลที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ผนึกกำลังประช... 4 พลังขับเคลื่อน...ดิจิตัลสตาร์ทอัพไทยสู่เวทีโลก — โลกดิจิตัลที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ผนึกกำลังประชารัฐ ตอบรับยุคไทยแลนด์ 4.0 สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์...

ด้วยสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห... SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things — ด้วยสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้กำหนดให้มีการจัดสัมมนา...

การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 ... SIPA Tech Meetup #7 : Machine Learning and the Wisdom from Data — การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 : The Power of Collaboration เป็นการจัดงาน SIPA...